520 likes | 700 Views
การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) ภาคปฏิบัติ. สำนักงบประมาณ. ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง (ก1). ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ (ก2) ผลผลิตซ้ำซ้อนและ เทียบเคียง (ก5 จ4). ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ ผลผลิต (ก3 ก4) ปัจจัยภายนอก (ก6). แผนกลยุทธ์ของกรม
E N D
การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) ภาคปฏิบัติ สำนักงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง (ก1) ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ (ก2) ผลผลิตซ้ำซ้อนและ เทียบเคียง (ก5 จ4) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ ผลผลิต (ก3 ก4) ปัจจัยภายนอก (ก6) แผนกลยุทธ์ของกรม ผลผลิต กิจกรรม (ข1) ตัวชี้วัดผลลัพธ์- ผลผลิต ผลผลิตรายปี (ข1 ข2 ข3 ข4 จ1 จ2) แผนประเมินผล (ข6 จ5) ประสานงาน (ข5) ปรับแผนกลยุทธ์ (ข7) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (ค1) กิจกรรมหลักและตัวชี้วัด (ค2 ค3) จัดทำต้นทุนต่อหน่วย (ค4) ปรับแผนปฏิบัติการ (ค5) จัดทำแผนปฏิบัติงานรายเดือนและติดตามผล (ง1) ข้อมูลและสารสนเทศ (ง2 ง3) ใช้ต้นทุนต่อหน่วย (ง4) ประเมินความคุ้มค่า (ง5 จ3) ตรวจสอบทางการเงิน (ง6) ประเมินบุคคล (ง7)
เป้าประสงค์ 1.1 ผลลัพธ์ 1.1.1 ผลลัพธ์ 1.1.2 ผลผลิตหลัก 1.1.1 ผลผลิตหลัก 1.1.2 ผลผลิตสนับสนุน
การเตรียมความพร้อมของหน่วยงานการเตรียมความพร้อมของหน่วยงาน • การจัดให้มีคณะบุคคล/หน่วยงานภายในสำหรับเป็นเจ้าภาพรับผิดชอบ PART • การศึกษาและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ PART • การเตรียมความพร้อม พิจารณาตามชุดคำถาม เช่น • การจัดทำแผนกลยุทธ์ • การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • การจัดระบบประเมินผลของหน่วยงาน • การจัดการเกี่ยวกับเอกสารของหน่วยงาน • การจัดระบบการบริหารจัดการของหน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิต • ฯลฯ หากเริ่มต้นเร็ว...ย่อมพบความสำเร็จก่อน
วัตถุประสงค์เพื่อ 1มีความรู้เรื่อง SPBB กับ PART 2 สามารถประเมินตนเองด้วย PART 3 ได้รับประโยชน์จาก PART
เนื้อหาของการบรรยายวันนี้เนื้อหาของการบรรยายวันนี้ • ความสัมพันธ์ SPBB กับ PART • ทำไมต้องใช้ PART • 7 รู้คือหัวใจของ PART • ประโยชน์ของPART ในกระบวนการงบประมาณ • 5 ร่วมเพื่อความสำเร็จของ PART • บทเรียนที่ได้รับจาก PART
การวางแผนกลยุทธ์ SWOT ธรรมาภิบาล PART KM PMQA BSC TQM SPBB RBM
การจัดการรายจ่ายภาครัฐสมัยใหม่การจัดการรายจ่ายภาครัฐสมัยใหม่ ผลลัพธ์ที่คาดหวัง การรักษาวินัย ทางการคลัง ของชาติ การจัดสรรทรัพยากร (งบประมาณ) ที่มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ (ใช้ทรัพยากร) อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ SPBB
ผลงาน =ผลผลิต+ ผลลัพธ์ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ SPBB
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB ผล แผน ระดับ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1 เป้าหมายยุทธศาสตร์ รัฐบาล ผลกระทบ 2 กระทรวง ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการสาธารณะ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น แผนการให้บริการ กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน ผลผลิต ผลผลิต ที่เกิดขึ้น ผลของกิจกรรม ที่เกิดขึ้น กิจกรรม งบประมาณ
ระบบงบประมาณ SPBB กับเครื่องมือ แผนกลยุทธ์ • การวางแผนงบประมาณ • การบริหารงบประมาณ • การติดตามประมาณผล แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการติดตามประเมินผล
ประสิทธิภาพ ผลผลิต ผลลัพธ์ • ประสิทธิผล • ความคุ้มค่า งบประมาณที่ใช้เทียบกับ ผลลัพธ์ที่ได้
องค์ประกอบของ PART 1. ตัวคำถาม 5 ชุด รวม 30 ข้อ 2. ตัวคำตอบ ( คำบรรยาย ) 3. ตัวหลักฐานประกอบคำตอบ
2. สร้างแผน กระบวนการวางแผน กับ PART 1.เตรียมการ (SWOT) • แผนกลยุทธ์ • แผนปฏิบัติการ ชุด ก. ชุด ข.และ ค. สื่อสารกลับ 5. ปรับแผน 4. ประเมินผลแผน 3. ปฏิบัติตามแผน ชุด จ. ชุด ง.
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB ผล แผน ชุด ก. ระดับ ชุด จ. ยุทธศาสตร์ ชาติ 1 เป้าหมายยุทธศาสตร์ รัฐบาล ผลกระทบ 2 กระทรวง ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการ(สาธารณะ) ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น แผนการให้บริการ (กลยุทธ์หน่วยงาน) เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน ผลผลิต ผลผลิต ที่เกิดขึ้น ชุด ข. PART ชุด ค. ผลของกิจกรรม ที่เกิดขึ้น กิจกรรม ชุด ง. งบประมาณ
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดยุทธศาสตร์ หลักการ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1 เป้าหมายยุทธศาสตร์ รัฐบาล • ใช้นโยบายนำ • เน้นประโยชน์ • ของประชาชน • จัดระดับความสำคัญ • คำนึงถึงความต่อเนื่อง • เน้นที่ผลงาน 2 กระทรวง ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการสาธารณะ แผนการให้บริการ กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ
PART ก 6 ก 3 ก 4 ก 5 รู้ที่ 1 : รับรู้(4ทาง) • รัฐบาล • กระทรวง ชุด ก. ก 1 ก 2 สนอง เป้าหมาย • กฎหมาย/ระเบียบ • โครงสร้าง ส่วนราชการ • ปัจจัยอื่น ๆ บน ผลผลิต ผลผลิต คำนึงถึง อุปสรรค ข้อจำกัด ความซ้ำซ้อน • หน่วยงานอื่น • รัฐ/เอกชน ข้าง ข้าง สนอง เป้าหมาย รู้ตัวเอง ล่าง กลุ่มเป้าหมาย • ประชาชน • หน่วยงาน เป้าหมายและความรับผิดชอบเป้าหมาย
ส่วนราชการ รู้จุดหมายปลายทาง ของการทำงาน และเข้าใจเป้าหมาย ต้องรับผิดชอบอย่างชัดเจนตลอดจนคำนึงถึงสภาพแวดล้อมภายนอก-ใน เพื่อ ดูที่ไหน SWOT แผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน 1 .แผนกลยุทธ์มีรายละเอียดครบไหม ดูอย่างไร • SWOT • ทิศทางองค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ • การกำหนดกลยุทธ์ ของกรม สำนัก กอง • 2. รายละเอียดของแผน สอดคล้องและเชื่อมโยง? • นโยบาย / ยุทธศาสตร์/ กฎหมายของหน่วยงาน • 3. จัดทำแผนกลยุทธ์อย่างไร? • STEAKHOLDER มีส่วนร่วมไหม ?
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB ขั้นตอนที่ 2 ถ่ายทอดเป้าหมายสู่หน่วยปฏิบัติ หลักการ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1 เป้าหมายยุทธศาสตร์ รัฐบาล • ทุกบาท ทุกคน • ทุกกิจกรรม ต้องผูกด้วย • กันและรับรู้กันหมด • เป้าหมายและKPI • ทุกระดับต้องชัดเจน • มีความยืดหยุ่นของ • แผน และเตรียมพร้อม • ที่จะพิสูจน์ความสำเร็จ • ของการดำเนินงาน 2 กระทรวง ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการ(สาธารณะ) แผนการให้บริการ (กลยุทธ์หน่วยงาน) เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ
รู้ที่2:เรียนรู้(ถ่ายทอดเป้า)รู้ที่2:เรียนรู้(ถ่ายทอดเป้า) PART วิสัยทัศน์Vision พันธกิจ Mission เป้าประสงค์หลักขององค์กร B C D E F A ผลผลิต • กลยุทธ์ระดับสำนัก/กอง A1 A2 A3 SWOT ชุด ข. สภาพแวดล้อมภายใน จุดอ่อน/แข็ง สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส/อุปสรรค 1 1 2 ทิศทางขององค์กร แผนกลยุทธ์ SWOT เป้าหมายของหน่วยงาน (กลุ่มเป้าหมาย) 2Q2PT กลยุทธ์ระดับกรม ผลลัพธ์ • กลยุทธ์ระดับองค์กร • Corporate Strategy 3 แผนปฏิบัติการประจำปี เป้าหมายของผลผลิต QQCT เวลา/ปริมาณ • กลยุทธ์ระดับ ส่วน /ฝ่าย กิจกรรม A1.1 A1.2
ให้ส่วนราชการดำเนินการไปตามทิศทาง จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ที่กำหนดไว้โดยใช้ “การวางแผนกลยุทธ์เป็นหลัก”เพื่อให้ทุกคน ทุกกิจกรรมรับรู้เป้าหมาย พร้อมที่จะพิสูจน์ความสำเร็จของการทำงาน เพื่อ ดูที่ไหน : แผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน ดูอย่างไร • มีการถ่ายทอดเป้าหมายและกลยุทธ์( จากบนสู่ล่าง )? • นโยบาย (รัฐบาล/กระทรวง) เป้าหมายหน่วยงาน ผลผลิต กิจกรรม • แผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน ได้กำหนดครบ 5ประเด็นไหม? • 1เป้าหมายผลลัพธ์หรือเป้าหมายหน่วยงาน(ท้าทาย) • KPI 5 มิติ 2Q2TP • 2 เป้าหมายผลผลิตระยะยาว+KPI 4 มิติ QQCT • 3 เป้าหมายผลผลิตรายปี+ KPI 4 มิติ QQCT • 4 กำหนดแผนการปะเมินภายนอก/ใน • 5 กำหนดการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ภาครัฐ/เอกชน • แผนกลยุทธ์ดังกล่าวมีการปรับกลยุทธ์/ยืดหยุ่น( Rolling Plan)?
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB การจัดสรรงบประมาณ ขั้นตอนที่ 3 หลักการ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1 เป้าหมายยุทธศาสตร์ รัฐบาล • ยึดหลักธรรมาภิบาล • โปร่งใสตรวจสอบได้ • ไม่รวมศูนย์อำนาจ • มีความยืดหยุ่น • ในการบริหารจัดการ 2 กระทรวง ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการสาธารณะ แผนการให้บริการ กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน ชุด ค ผลผลิต แผนปฏิบัติการ ประจำปี สงป 301 กิจกรรม งบประมาณ
ผลผลิตที่สัมพันธ์กับทรัพยากร 3 ปี และ 1 ปี ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต Monitoring และ Feedback PART รู้ที่ 3 :ตระหนักรู้(แบ่งงาน) ชุด ค. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ทรัพยากร กิจกรรม ผลผลิต ติดตามผล รายงานผล
แสดงให้เห็นว่าเงินที่ได้รับจัดสรร มีผลงานอย่างชัดเจนในแต่ละกิจกรรม และใช้เงินไปเท่าไรโปร่งใสทุกบาท ทุกคน ทุกกิจกรรม ผูกกันอย่างไร มีการทบทวนเป้าหมายโดยใช้ผลงานที่ผ่านมาเป็นข้อมูลเพื่อเอาใจใส่และมุ่งมั่นที่จะทำงานบรรลุเป้าหมาย : เพื่อ • แผนปฏิบัติงาน • สงป 301 • รายงานการประชุมการติดตามผล ดูที่ไหน ดูอย่างไร • เป้าหมายผลผลิตรายปีชี้ให้เห็นความก้าวหน้า • เป้าหมายสะสมระยะยาวหรือระยะปานกลาง • (MTEF) • กำหนดกิจกรรมหลัก • กำหนดตัวชี้วัด(KPI) • - ปริมาณงาน • - ระยะเวลา
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB ขั้นตอนที่ 4 บริหารงบประมาณและติดตามผลการดำเนินงาน หลักการ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1 เป้าหมายยุทธศาสตร์ รัฐบาล • ร่วมทำ ร่วมแสดง • ความรับผิดชอบ • โปร่งใส ตรวจสอบได้ • ปรับปรุงการดำเนิน • งานอย่างต่อเนื่อง 2 กระทรวง ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการสาธารณะ แผนการให้บริการ กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ
PART กิจกรรม ปริมาณงานงบประมาณ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 หน่วยงาน 1. = = = = = = = = = 1.1 - - - 1.2 - - - - 1.3 - - 2. = = = = = = 2.1 - - - - 2.2 - - - รู้ที่ 4 :ทำตามที่รู้(นำส่งเป้า) ชุด ง. ตารางแสดงแผนปฏิบัติการประจำปี Database MIS Unit cost ตรวจสอบภายใน วัดความคุ้มค่า
ในการทำงานทุกกิจกรรมมีผู้รับผิดชอบทำงานเป็นขั้นตอนโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมกันในการทำงานทุกกิจกรรมมีผู้รับผิดชอบทำงานเป็นขั้นตอนโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมกัน อย่างเป็นระบบ การใช้ต้นทุนต่อหน่วยการวัดผลในการปรับปรุงการดำเนินงานมาใช้ประโยชน์ ในการบริหารจัดการ เพื่อบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ ดูที่ไหน • แผนงาน แผนเงิน • ระบบฐานข้อมูล(database) • พัฒนาเป็น MIS • การใช้ Unit cost • รายงานตรวจสอบภายใน • ตัวชี้วัดความคุ้มค่า • ประเมินผู้รับผิดชอบผลผลิต บริหารจัดการการเงิน การงบประมาณ บริหารจัดการข้อมูล บริหารจัดการคน ดูอย่างไร • มีแผนงานแผนเงิน • นำ Unit cost มาใช้ประโยชน์ • มีการวัดความคุ้มค่า • มีการตรวจสอบทางการเงิน • มีระบบฐานข้อมูล • พัฒนาเป็นระบบสารสนเทศ • มีระบบการประเมินผู้รับผิดชอบ • นำส่งผลผลิต/กิจกรรม
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลสัมฤทธิผลของการจัดสรรงบประมาณ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1 เป้าหมายยุทธศาสตร์ รัฐบาล ผลกระทบ 2 กระทรวง ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการสาธารณะ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น แผนการให้บริการ กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน ผลผลิต ผลผลิต ที่เกิดขึ้น ผลของกิจกรรม ที่เกิดขึ้น กิจกรรม งบประมาณ หลักการ • แสดงประสิทธิภาพ • แสดงประสิทธิผล • แสดงความคุ้มค่า
รู้ที่ 5 :แสดงผลให้รู้ KPI PART เชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา ค่าใช้จ่าย ชุด จ. ประสิทธิภาพ ผลผลิต ประสิทธิผล ผลลัพธ์ เชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย ความคุ้มค่า งบประมาณที่ใช้จ่าย เปรียบเทียบกับผลลัพธ์ที่ได้
แสดงความสำเร็จการทำงานของส่วนราชการ ในการบรรลุเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ทั้งในเรื่องของ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า โดยดูจากผลงานของตนเอง มุมมองจากภายนอกและเปรียบเทียบผลงานภายนอก เพื่อปรับปรุง แก้ไข พัฒนาการจัดการงบประมาณ เพื่อ ดูที่ไหน รายงานการประเมินผลระดับผลผลิต ผลลัพธ์ ความคุ้มค่า จากผู้ประเมินภายในและภายนอก ดูอย่างไร • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • ความคุ้มค่า
รู้ที่ 6 :รู้ปรับปรุงแก้ไข(อย่างต่อเนื่อง) • การวางแผนงบประมาณ • SWOTขาดการมีส่วนร่วม • เป้าหมาย &KPI ไม่ชัดเจน ไม่ครบ ไม่ถูกต้อง • ขาดการประสานงาน • ไม่มีUnit cost • ปัญหา • ไม่สามารถแสดงผลได้ • แสดงผลต่ำกว่าเป้าหมาย บริหารจัดการ • แผนงานแผนเงินไม่ชัดเจน • Data base ไม่สมบรูณ์ ไม่พัฒนาเป็น MIS • ขาดการรายงานข้อมูลย้อนกลับ • ไม่ได้ใช้ประโยชน์ Unit cost การติดตามประเมินผล • ขาดการวางระบบติดตามประเมินผล • ภายใน/ภายนอก
ค้นหา : ปัญหา คืออะไร สาเหตุมาจากอะไร วิธีการแก้ไขทำอย่างไร : เพื่อ 1.กำหนดปัญหาให้ ถูกต้องชัดเจน 2.วิเคราะห์หา สาเหตุสำคัญ 6. ติดตามและประเมินผล 5. วางแผนการปฏิบัติ 3. หาวิธีแก้ไขที่เป็นไปได้ 4.เลือกวิธีแก้ที่ดีที่สุด
ผลคะแนน PART ชุดคำถาม ผลที่ได้ คะแนนเต็ม กราฟเรดาร์ ก จุดมุ่งหมาย 2 10 ข การวางแผนกลยุทธ์ 14 20 ค การเชื่อมโยงงบประมาณ 15 20 ง การบริหารจัดการ 16 20 จ ผลผลิต/ผลลัพธ์ 3 30 ผลรวม 50 100 กลุ่มสี สีแดง ดูที่ไหน ดูที่ไหน
จุดมุ่งหมาย จุดมุ่งหมาย จุดมุ่งหมาย การวัดผล การวัดผล การวัดผล สภาพแวดล้อมภายนอก/ใน สภาพแวดล้อมภายนอก/ใน สภาพแวดล้อมภายนอก/ใน ผลกระทบ SWOT & Stakeholders ก 3 รธน./พรบ./พรฎ./กฎ.ก ยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ^ กลยุทธ์หน่วยงาน รธน./พรบ./พรฎ./กฎ.ก ยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ^ กลยุทธ์หน่วยงาน รธน./พรบ./พรฎ./กฎ.ก ยุทธศาสตร์ของรัฐบาล กลยุทธ์หน่วยงาน N = ประเทศ ^ <--n = กระทรวง-กรม N = ประเทศ ^ <--n = กระทรวง-กรม เป้าหมายของประเทศ ความต้องการบริการ ชุด ก N (GDP, คุณภาพชีวิต) ก 4 ความซ้ำซ้อน ก 5 ก 2 ก 1 ก 6 เป้าหมายของกระทรวง-กรม แผนแก้ไขกฎหมาย n ผลลัพธ์ ถ่ายทอดจุดมุ่งหมายชาติ เป้าหมายของผลลัพธ์ ข 1 การปรับกลยุทธ์ จากการเปลี่ยนแปลง นโยบายและกฎหมาย การปรับกลยุทธ์ <-- จากการเปลี่ยนแปลง นโยบายและกฎหมาย การปรับกลยุทธ์ <-- จากการเปลี่ยนแปลง นโยบายและกฎหมาย ข 3 ข 7 และ KPI (2Q2T1P) ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม ชุด ข ผลความก้าวหน้าของผลลัพธ์ แผนการประเมินผล จ 1 ข 6 ภายใน-นอก ผลการประเมินผู้ประเมินอิสระ จ 5 ผลผลิต เป้าผลผลิตระยะยาว+KPI ข 2 ^ ตัวชี้วัดผลผลิต (QQCT) การเทียบเคียง ต้นทุนผลผลิต ข้อเสนอแนะการติดตามผล ^ ตัวชี้วัดผลผลิต (QQCT) การเทียบเคียง ต้นทุนผลผลิต ข้อเสนอแนะการติดตามผล การประสานงาน การบังคับใช้ กม. การประสานงาน <-- การบังคับใช้ กม. การประสานงาน การบังคับใช้ กม. ผลความก้าวหน้าผลผลิต จ 2 ข 5 เป้าผลผลิตรายปี+KPI ผลประสิทธิภาพ/ ชุด จ ข 4 (QQCT) จ 3 ประสิทธิผลค่าใช้จ่าย (MTEF) Unit/Cost ค 1 ค 4 ผลการวัดเทียบกับ จ 4 ข้อเสนอแนะติดตามผล หน่วยงานที่คล้ายกัน ค 5 ชุด ง ง 1 ง 2 กิจกรรม บริหารแผน(งาน/เงิน) Bar/Flow Chart --------------------- (การคัดเลือกผู้ขอทุน) Bar/Flow Chart ---------------------(การคัดเลือกผู้ขอทุน) ^ สงป.301 ^ สงป.301 ฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศ ค 2 ง 3 แผนปฏิบัติงาน สงป.301 ง 4 ค 3 Unit/Cost ตรวจสอบภายใน ชุด ค ง 6 กิจกรรม + ทรัพยากร ประเมินบุคคล ง 5 ง 7 (ปริมาณ/เวลา) ผู้รับผิดชอบ 36 ประสิทธิภาพ+ประสิทธิผลค่าใช้จ่าย
PART กระทรวง การปรับแผนระดับ Goal • กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลประโยชน์เปรียบเทียบกับกลุ่มสังคมที่เป็นเป้าหมายการให้บริการ 43
กลุ่มเป้าหมายและลักษณะผลประโยชน์กลุ่มเป้าหมายและลักษณะผลประโยชน์ การปรับตัวชี้วัดผลลัพธ์ (2Q2T1P) เชิงปริมาณ Quantity เชิงคุณภาพ Quality กลุ่มเป้าหมาย Target Group เวลา/สถานที่ Time Place PART หน่วยงาน การปรับแผนระดับ Outcome
กลุ่มผลผลิตที่สัมพันธ์กับกิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริมกลุ่มผลผลิตที่สัมพันธ์กับกิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริม การปรับตัวชี้วัดผลผลิต (QQCT) ปริมาณ Quantity คุณภาพ Quality ต้นทุน Cost เวลา Time PART ผลผลิต การปรับแผนระดับ Output
กิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริมกิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริม การปรับตัวชี้วัดกิจกรรม ปริมาณ Quantity เวลา Time งบประมาณ PART ปรับระดับActivity กิจกรรม
รู้ที่ 7 :รู้ใช้ประโยชน์(ในกระบวนการงบประมาณ) PART 1.จัดทำงบประมาณ 4.ควบคุมติดตาม ประเมินผล 2.อนุมัติงบประมาณ 3.บริหารงบประมาณ
เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ บริหารงานงบประมาณ ติดตามประเมินผลงบประมาณ เพื่อให้การใช้จ่ายงบประมาณเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า เพื่อ • คำของบประมาณ • เอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปี • รายละเอียดคำชี้แจงงบประมาณต่อคณะกรรมาธิการ/รัฐสภา • รายงานผลงานประจำปีของกระทรวง/กรมที่ต้องแสดงต่อสาธารณชน ดูที่ไหน
ดูอย่างไร การใช้ประโยชน์ ผู้ใช้ประโยชน์ ขั้นตอน จัดทำงบประมาณ จัดทำคำของบประมาณ ส่วนราชการ สำนักงบประมาณ วิเคราะห์คำของบประมาณ พิจารณาอนุมัติ อนุมัติงบประมาณ พ.ร.บ. งบประมาณประจำปี รัฐสภา สำนักงบประมาณ ส่วนราชการ กรมบัญชีกลาง บริหารงบประมาณ ปรับแผนโอนเปลี่ยนแปลง /เบิกจ่ายงบประมาณ ส่วนราชการ สำนักงบประมาณ สตง. กพร. ประชาชน หรือ NGO ควบคุมติดตาม ประเมินผล ติดตามการใช้จ่ายเงิน รายงานผลการใช้จ่ายเงิน
เหตุ ประโยชน์ 1. รับรู้(4ทาง) ชุด ก. 6. รู้ปรับปรุง แก้ไข ผล 2. เรียนรู้ (ถ่ายทอดเป้า) (ผลผลิต/ผลลัพธ์) 5. แสดงผลให้รู้ ชุด ข. ชุด จ. 7. รู้ใช้ประโยชน์ ในกระบวนการ งบประมาณ 3.ตระหนักรู้ (แบ่งงาน) ชุด ค. 4.ทำตามที่รู้ (นำส่งเป้า) 7 รู้หัวใจของ PART ชุด ง.
5 ร่วมเพื่อให้ PART ประสบความสำเร็จ 1. ร่วมใจ 2. ร่วมคิด 5.ร่วมรักษา 3. ร่วมทำ 4. ร่วมใช้ประโยชน์
ปัจจัยเอื้ออำนวยให้เกิดการเรียนรู้ PART อย่างได้ผล 1.มีบริบทหรือเรื่องราวที่สนใจร่วมกัน ในที่นี้คือ PART 2.มีใจเชื่อว่าทุกคนเป็นผู้รู้ได้ ใครทำเป็น ก็เป็นผู้รู้ได้ 3. มีการบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง PART 4. ลงมือกระทำจริง ไม่ลองไม่รู้ 5. มีนักเคลื่อนไหวจัดการความรู้PART เช่น หัวหน้าKM หัวหน้าแผน 6. สร้างเครือข่ายขยายแวดวงความรู้ PARTให้เพิ่มขึ้น ภายในกรม กระทรวง ต่างกระทรวง
เรื่อง PART ที่มา ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด
ความรู้ภายนอก คน Tools/ICT วัฒนธรรม คว้า เลือก ทักษะในการเรียนรู้จากการปฏิบัติ ใช้ กำหนดเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายของงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับความรู้ จัดเก็บ จัดระบบ ปรับปรุง ค้น คลังความรู้ ภายใน ที่มา ศ.พ. วิจารณ์ พานิช
ข้อตระหนัก PART เป็น Self – Assessment แข่งขันกับตัวเอง ทำด้วยตนเอง/แก้ปัญหาด้วยตัวเอง พัฒนาจากรู้จำ รู้จริง รู้แจ้ง ยอมรับความจริง สิ่งใดที่ยังไม่มี ก็ทำให้มี สิ่งใดที่มีปัญหา ก็ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง สิ่งใดที่ทำดีแล้ว ก็พัฒนาให้เป็นมาตรฐาน คะแนนเป็นเพียงภาพสะท้อน เราอยู่ในระดับไหนจะพัฒนาหรือไม่ ต้องการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น
สิ่งที่ได้เรียนรู้จาก PART 1. ช่วยกันทำงานเป็นทีม 2. พัฒนาคนพัฒนางานพัฒนาองค์กร 3. เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ยั่งยืน 4. เรียนรู้วิถีชีวิต