350 likes | 832 Views
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้. รศ.ดร.สายัณห์ สดุดี. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา. ความแปรปรวนของภูมิอากาศในภาคใต้. สาเหตุการเกิดเนื้อแก้ว-ยางไหล. แนวทางการลดปัญหา. พื้นที่ปลูกมังคุดที่สำคัญของประเทศไทย. ภาคใต้.
E N D
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหลในการผลิตมังคุดในภาคใต้การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหลในการผลิตมังคุดในภาคใต้ รศ.ดร.สายัณห์ สดุดี ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ความแปรปรวนของภูมิอากาศในภาคใต้ความแปรปรวนของภูมิอากาศในภาคใต้ สาเหตุการเกิดเนื้อแก้ว-ยางไหล แนวทางการลดปัญหา
พื้นที่ปลูกมังคุดที่สำคัญของประเทศไทยพื้นที่ปลูกมังคุดที่สำคัญของประเทศไทย
ภาคใต้ ภาคตะวันออก พื้นที่ปลูก (ไร่) 181,431 306,618 พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) 146,956 240,337 ผลผลิต (ตัน) 113,113 235,068 ที่มา : สถิติการส่งออก กรมศุลกากร,ประเทศไทย โดย www.customs.go.th การผลิตมังคุดในภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทยในปี 2550
จังหวัดสงขลา, ภาคใต้ของประเทศไทย
B A D C แสดงแนวโน้มข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิสูงสุด (A) อุณหภูมิต่ำสุด (B) ความแปรปรวนปริมาณน้ำฝน (C) และจำนวนวันฝนตก (D) ในรอบ 30 ปี ของ จ.สงขลา (พ.ศ.2519-2549) จากสถานีอุตุนิยมวิทยาคอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช, ภาคใต้ของประเทศไทย
(A) (B) ปริมาณน้ำฝนรายเดือน (มม.) (C) เดือน รูปแบบการกระจายตัวของฝนที่ อ.เมืองฯ จ.นครศรีธรรมราช (A) เปรียบเทียบกับการกระจายตัวของฝนในปีที่มีฝนตกในช่วงฤดูร้อน หรือให้ผลเว้นปี (B) และในปีที่มีผลผลิตสูงมาก (C)
1.0 (ก) 0.8 0.6 ดัชนีการให้ผลผลิตเว้นปี 0.4 0.2 0.0 2547-2548 2548-2549 2549-2550 2550-2551 ปี พ.ศ. 100 (ข) 75 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัม/ต้น) 50 25 0 2547 2548 2549 2550 2551 ปี พ.ศ. ดัชนีการให้ผลปีเว้นปี (ก) และผลผลิตเฉลี่ย (ข) ของมังคุด ช่วงปี 2547-2551 ในเขตฝั่งตะวันออกของ จ.นครศรีธรรมราช
ฤดูกาลของการเก็บเกี่ยวผลผลิตมังคุดในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตรายใหญ่และรายย่อยฤดูกาลของการเก็บเกี่ยวผลผลิตมังคุดในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตรายใหญ่และรายย่อย ระยะเวลา ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. แหล่งผลิตรายใหญ่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย แหล่งผลิตรายย่อย ออสเตรเลีย เวียดนาม ที่มา: Osman และ Milan (2006)
- น้ำสามารถซึมเข้าสู่ผลทางลำต้น-ผิวผล-ขั้วผล - เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะน้ำภายในผล ฝนตกต่อเนื่อง 2-3 วัน ก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต เนื้อแก้ว ยางไหล สาเหตุการเกิดเนื้อแก้ว และยางไหล • อิทธิพลของน้ำ (น้ำฝน-น้ำใต้ดิน)
บรรยากาศ คายน้ำทางปากใบ ปากใบ ใบ ลำต้น ความต่างของศักย์ของน้ำ ราก ดิน น้ำในดิน ภาพแสดงการเคลื่อนที่ของน้ำจากดินผ่านต้นพืชสู่บรรยากาศที่เปรียบเหมือนการเคลื่อนที่ของไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์
Ψ= -1.2 MPa Ψ= -1.2 MPa Ψ= -0.8 MPa Ψ= 0 MPa
ส่วนเชื่อมต่อระหว่างขั้วผลไปยังเนื้อผลของมังคุดส่วนเชื่อมต่อระหว่างขั้วผลไปยังเนื้อผลของมังคุด
องค์ประกอบของธาตุอาหาร N, P และ K ในส่วนของเปลือก เนื้อ และเมล็ด ธาตุอาหาร (%) องค์ประกอบของ N,P,K ในผลมังคุด เปลือก เนื้อ เมล็ด N 0.46 0.42 1.14 P 0.22 0.14 0.35 K 1.42 0.44 1.37 ที่มา: ปัญจพร (2545)
K+ กลีบของเนื้อผลที่มีเมล็ดของผลมังคุดมีโพแทสเซียมสูงทำให้มีการดึงน้ำเข้าสู่เซลล์ ถ้ามีน้ำมากจะทำให้เกิดเนื้อแก้วได้
A B ภาพตัดขวางของท่อน้ำในทุเรียน (A), มังคุด (B)
กระพี้ เปลือกไม้ A B โครงสร้างเนื้อไม้และการจัดเรียงตัวของท่อน้ำจากการตัดตามขวางของกิ่งทุเรียน (A), มังคุด (B)
เปลือกผลมังคุดที่ได้รับน้ำเข้าไปมากจนทำให้ท่อน้ำยางขยายตัวเปลือกผลมังคุดที่ได้รับน้ำเข้าไปมากจนทำให้ท่อน้ำยางขยายตัว
การที่ผลมังคุดได้รับน้ำมากอย่างรวดเร็วจะทำให้ผลแตก และยางไหล
แสดงผิวของผลที่เป็นเนื้อแก้ว (A) เปรียบเทียบกับผิวผลปกติ (B)และแสดงภาพตัดขวางของเปลือก (C) ในส่วนของท่อน้ำ (a) ท่อน้ำยาง (b) และ เซลล์พาเรนไคมา (c)
การติดตั้งหัววัด sapflow sensor เพื่อวัดการไหลของน้ำเข้าสู่ผล
(A) (B) การไหลของน้ำเข้าทางใบและผลที่ได้รับแสง (A) และที่พรางแสง (B)
เร่งการออกดอกและติดผลให้เร็วขึ้นเร่งการออกดอกและติดผลให้เร็วขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงฝนชุกในช่วงเก็บผล ควบคุมการให้น้ำ คือ ไม่ปล่อยให้ดินอยู่ในสภาพแห้งในช่วงการพัฒนาของผลและก่อนเก็บเกี่ยว แนวทางการลดปัญหาการเกิดเนื้อแก้วและยางไหล
ต้นมังคุดที่ไม่ตัดยอด (A) และต้นมังคุดที่ตัดยอด (B)
การไว้ผลอย่างเหมาะสมโดยประเมินจากการใช้โครงลูกบาศก์ (cubic frame) ขนาด 50x50x50 ซม. สุ่มนับจำนวนผลของต้นมังคุดรอบทรงพุ่ม
การแนะนำให้เกษตรกรใส่แคลเซียมทางดินการแนะนำให้เกษตรกรใส่แคลเซียมทางดิน • การใส่ Ca ทางดินโดยตรง ในรูปของยิปซัม
Ca Ca Ca Ca Ca Ca Ca Ca Ca การแนะนำให้เกษตรกรฉีดพ่น 10% CaCl2ให้แก่ผลมังคุด อายุ 6-8 สัปดาห์