420 likes | 991 Views
การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา. สุวิญญา ธนสีลังกูล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์มะเร็งอุดรธานี. 28/01/2553. โรคมะเร็งศีรษะและคอ. 1. Oral Cavity Cancer 2. Oropharyngeal Cancer 3. Hypopharyngeal Cancer 4. Nasopharyngeal Cancer. โรคมะเร็งศีรษะและคอ (ต่อ).
E N D
การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษาการพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา สุวิญญา ธนสีลังกูล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์มะเร็งอุดรธานี 28/01/2553
โรคมะเร็งศีรษะและคอ 1. Oral Cavity Cancer 2. Oropharyngeal Cancer 3. Hypopharyngeal Cancer 4. Nasopharyngeal Cancer
โรคมะเร็งศีรษะและคอ (ต่อ) 5. Laryngeal CanCer - supraglottic carcinoma - glottic carcinoma 6.Thyroid Cancer 7. อื่นๆ เช่นSkin Cancer
หลักการพยาบาล ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา 1. ให้ความสำคัญกับคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดของผู้ป่วย 2. ดูแลครอบคลุมความต้องการทุกด้าน 3. ดูแลอย่างต่อเนื่อง 4. ให้เกียรติในความเป็นบุคคลของผู้ป่วย 5. ให้ความรู้ ข้อมูลเกี่ยวกับโรคมะเร็งและการรักษา
หลักการพยาบาล ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา 6. เป็นสื่อกลางระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย 7. ประสานการดูแลและความช่วยเหลือจากบุคลกรด้านสุขภาพ 8. ให้กำลังใจอย่างสม่ำเสมอ 9. พัฒนาศักยภาพของครอบครัว 10. สนับสนุนด้านจิตใจและอารมณ์
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ก่อนได้รับรังสีรักษา ความพร้อมด้านจิตใจ 1. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการรักษา อาการข้างเคียง 2. อธิบายวิธีการเตรียมตัวก่อนได้รับการฉายรังสี 3. แนะนำใช้แหล่งข้อมูล เช่น สถานีอนามัย 4. ให้กำลังใจ รับฟังปัญหาและตอบคำถามผู้ป่วยด้วยความเต็มใจ
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ก่อนได้รับรังสีรักษา • ความพร้อมด้านร่างกาย • 1. พบทันตแพทย์เพื่อเตรียมช่องปาก • 2. ความสะอาดร่างกาย • 3. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ • 4. อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนนัด
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ก่อนได้รับรังสีรักษา ความพร้อมของเอกสาร 1. Lab,Patho,Filmเป็นต้น 2. ใบส่งตัวตามสิทธิบัตร
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ระหว่างการได้รับรังสีรักษา 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับการฉายรังสี 2. แนะนำสถานที่ 3. แนะนำผู้ป่วยให้รู้จักเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการรักษา 4. แนะนำกระบวนการและขั้นตอนการให้บริการฉายรังสีประจำวัน 5. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการชำระค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิบัตร
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ระหว่างการได้รับรังสีรักษา ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัว ขณะฉายรังสี - ขณะฉายรังสีผู้ป่วยต้องนอนนิ่งๆ - ขณะฉายรังสี จะไม่มีอาการเจ็บปวด หรือแสบร้อน - ระมัดระวังไม่ให้เส้นที่แพทย์ขีดหรือจุดไว้ลบ
ภาวะแทรกซ้อนจากการฉายรังสีภาวะแทรกซ้อนจากการฉายรังสี #GeneralReaction 1. อาการอ่อนเพลีย 2. ความต้านทานโรคต่ำ
ภาวะแทรกซ้อนจากการฉายรังสี (ต่อ) • #LocalEffect • AcuteEffect • - ผิวหนังเปลี่ยนแปลง • ระยะที่ 1 ผิวหนังอุ่นขึ้น • ระยะที่ 2 ผิวหนังเป็นสีแดงคล้ายถูกแดดเผา • ระยะที่ 3 ผิวหนังเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำ • ระยะที่ 4 ผิวหนังจะอักเสบเฉียบพลัน
ภาวะแทรกซ้อนจากการฉายรังสี (ต่อ) - การอักเสบของเยื่อบุช่องปาก(Mucositis) - ปากคอแห้ง( Xerostomai ) - ระคายเคืองตา - ระคายเคืองหู แก้วหูบวม
ภาวะแทรกซ้อนจากการฉายรังสี (ต่อ) • LateEffect • - อาการปากแห้งอย่างถาวร • - การรับรสเปลี่ยนอย่างถาวร • - เนื้อกระดูกตายเนื่องจากรังสี • - อ้าปากได้น้อยหรือปากตีบแคบ
ด้านจิตและสังคม 1. ด้านภาพลักษณ์ (body image) 2. ด้านเพศสัมพันธ์ 3. ด้านเศรษฐกิจ 4. การเปลี่ยนแปลงบทบาทและหน้าที่ 5. ความรู้สึกไม่แน่นอน 6. ความกลัวและความวิตกกังวล 7. การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
การดูแลผิวหนังบริเวณฉายรังสีการดูแลผิวหนังบริเวณฉายรังสี - ดูแลผิวหนังบริเวณฉายรังสีให้แห้งอยู่เสมอ - สวมเสื้อผ้าที่นุ่ม - หลีกเลี่ยงการใช้สารระคายเคืองต่างๆ ทาบริเวณผิวหนัง - หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดนานๆ - หลีกเลี่ยงการแกะเกา
การดูแลช่องปาก แนะนำผู้ป่วยให้ดูแลช่องปากดังนี้ - ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงในช่องปาก - รักษาความสะอาดในช่องปากหลังมื้ออาหารทุกมื้อ และก่อนนอน - ไม่ใช้น้ำยาบ้วนปากที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ - ทาริมฝีปากให้ชุ่มชื่น ด้วยวาสลิน
การดูแลช่องปาก(ต่อ) • ใช้แปรงสีฟันที่อ่อนนุ่ม • หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัด • รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย • ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 – 10 แก้ว
grade toxicity from radiation therapy RTOG : Radiation Therapy Oncology Group
การบริหารกล้ามเนื้อลำคอและช่องปากการบริหารกล้ามเนื้อลำคอและช่องปาก ท่าที่ 1 ค่อยๆก้มหน้าให้ คางจรดกับอกค้างไว้ นับ 1 – 10 เป็นจังหวะ แล้ว เงยหน้าช้าๆ แหงนหน้ามาก ที่สุดค้างไว้ นับ 1 - 10
การบริหารกล้ามเนื้อลำคอและช่องปากการบริหารกล้ามเนื้อลำคอและช่องปาก ท่าที่ 2เอียงศีรษะให้ หูซ้ายจรดไหล่ซ้าย โดยไม่ยกไหล่ขึ้น นับ 1 – 10 เอียงศีรษะกลับ ที่เดิมจนหน้าตรง แล้วเอียงศีรษะให้ หูขวาจรดไหล่ขวา ในลักษณะเดียวกัน นับ 1 – 10
การบริหารกล้ามเนื้อลำคอและช่องปากการบริหารกล้ามเนื้อลำคอและช่องปาก ท่าที่ 3หมุนศีรษะ หันหน้า ไปทางซ้ายช้าๆให้ ปลายคางอยู่ในแนว เดียวกับไหล่ ซ้าย นับ 1 – 10 แล้วหมุนกลับมาหน้าตรง หันหน้าไปทางขวาช้าๆ ให้ปลายคางอยู่ แนวเดียวกับไหล่ขวา นับ 1 – 10
การบริหารกล้ามเนื้อลำคอและช่องปากการบริหารกล้ามเนื้อลำคอและช่องปาก ท่าที่ 4การขยายช่องปาก โดยการคาบวัสดุ ที่กว้างพอ เช่น จุกก๊อกขนาดใหญ่ ทำบ่อยๆ 4 – 5 ครั้งต่อวัน ครั้งละประมาณ 1 – 2 นาที
การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอการพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอ ภายหลังได้รับรังสีรักษา 1. การรับประทานอาหารและน้ำ 2. การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย - ช่องปากและฟัน - ผิวหนัง 3. การออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอการพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและคอ ภายหลังได้รับรังสีรักษา 4. การพักผ่อน 5. การดูแลบาดแผล 6. การมีเพศสัมพันธ์ 7. การติดตามผลการรักษาตามนัด
1.สิ่งแวดล้อม • ป้องกันการปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อมโดย • แยกผู้ป่วยให้อยู่ในห้องที่มีผนังหนา 10-30 ซม. • พื้นห้องจะต้องปูกระดาษซับ • มีถุงรองรับสิ่งคัดหลั่งแยกต่างหาก ก่อนการรักษา
2.ด้านร่างกาย • เตรียมความสะอาดของร่างกายให้พร้อม • เตรียมผลทางห้องปฏิบัติการ • งดยา Thyroid Hormone ก่อนกลืนแร่ • 1-2 เดือน • เตรียมเครื่องใช้ที่จำเป็น
3.ด้านจิตใจ • ผู้ป่วยจะต้องอยู่ในห้องแยก • ห้ามจับต้องสิ่งของโดยไม่จำเป็น • ทิ้งเศษอาหารลงในถังที่เตรียมไว้ • การขับถ่ายอย่างระมัดระวัง กดชักโครกนานๆอย่างน้อยสองครั้ง • งดอาบน้ำ • ดื่มน้ำอย่างน้อย 3000 ซีซี ต่อวัน • ญาติสามารถเยี่ยมได้ไม่เกิน 15 นาที • หญิงมีครรภ์และเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีห้ามเยี่ยม
1.พยาบาลสอบถามอาการบ่อยๆติดต่อทาง1.พยาบาลสอบถามอาการบ่อยๆติดต่อทาง อินเตอร์คอม 2.ขณะปฏิบัติการพยาบาลควรสวมถุงมือและเสื้อกาวน์ 3.กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 4.แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย ปริมาณพอเหมาะ 5.ถ้าเจ็บคอและต่อมน้ำลายให้กินผลไม้รสเปรี้ยว ขณะรักษา
6.เตรียมรถฉุกเฉินให้พร้อมใช้งาน6.เตรียมรถฉุกเฉินให้พร้อมใช้งาน • สังเกตอาการผิดปกติ • คอบวม • ทางเดินหายใจอุดตัน • เจ็บคอ ปวดบริเวณต่อมน้ำลาย • N/V • เสียงแหบ • 7. ติดป้ายแสดงเขตอันตรายจากรังสี • 8.ติดเครื่องตรวจวัดปริมาณรังสี
ในสัปดาห์แรกหลัง D/Cให้แยกห้องนอน • แนะนำดื่มน้ำมากๆ • งดยา Thyroid • สัปดาห์ที่สองปฏิบัติกิจวัตรร่วมกับผู้อื่นได้ • กินยา Thyroid • คุมกำเนิดสองปี • แนะนำให้มาตรวจตามนัด หลังการรักษา