250 likes | 383 Views
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO ). คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ทศวรรษที่ 1 (พ.ศ. 2515 - 2524) : ยุคแห่งการก่อร่าง สร้างบ้าน ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2525 - 2534) : ยุคแห่งการพัฒนาคน พัฒนางาน ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ. 2535 - 2544) :
E N D
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • ทศวรรษที่ 1 (พ.ศ. 2515 - 2524) : ยุคแห่งการก่อร่าง สร้างบ้าน • ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2525 - 2534) : ยุคแห่งการพัฒนาคน พัฒนางาน • ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ. 2535 - 2544) : ยุคแห่งคุณภาพ • ทศวรรษที่ 4 (พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน) : ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้
ช่วงทศวรรษที่ 2 และ 3 • พัฒนาคนและงานเป็นอย่างมาก • ยึดคุณภาพเป็นหลัก • เกิดกิจกรรม • มีการรวมตัวกันข้ามสายงาน • มีการนำเสนอผลงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ >> มีการประชุมด้าน QA (Quality Assurance) ทุก ๆ 3 เดือน
ทศวรรษที่ 4 : ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้ ทำความกระจ่าง (clarification) ในเรื่อง KM 1. Outside-in คือ การเชิญผู้รู้ในเรื่องต่างๆมาเล่า มาบรรยายให้คนของคณะได้รับทราบ 2. Inside-out คือ การส่งบุคลากรของคณะไปจับเอาความรู้ (Knowledge capture) ในเรื่องจากภายนอก
ก้าวสำคัญของการเริ่มนำ KM มาใช้อย่างเป็นระบบในคณะ ให้ขยายจุดเน้น (focus) ของการพัฒนาบุคลากร คนและความรู้ (knowledge) เป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุด ของคณะ " พัฒนาคน พัฒนางาน และจัดการความรู้ โดยชูคุณภาพเป็นหัวใจ และมุ่งไปที่ผู้รับบริการเป็นสำคัญ"
แผนที่ยุทธศาสตร์เพื่อนำคณะแพทยศาสตร์ไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้แผนที่ยุทธศาสตร์เพื่อนำคณะแพทยศาสตร์ไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ อาศัยการจัดการความรู้เป็นกระบวนการ ( ใช้ KM ) บูรณาการ (integrate) KM mission : จะเป็นคณะแพทยศาสตร์ที่มีการ บริหารจัดการความรู้ ที่เป็นตัวอย่าง (Best practice) ของคณะแพทยศาสตร์อื่นๆ ใน 4 ปี
ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ หน้าที่ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ • กำหนดเป้าหมายของการจัดการความรู้ขององค์กร • สร้างบรรยากาศขององค์กรให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • บริหารจัดการความรู้ภายในองค์กร • ทำแผนการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กร • สร้างเครือข่ายความรู้กับองค์กรอื่น ๆ • คณะกรรมการชุดนี้จะมีวาระ 2 ปี (16 กันยายน 2547 - 15 กันยายน 2549)
ความรู้ที่คณะแพทยศาสตร์ มอ.จะนำมาจัดการ 1 ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ตรงของผู้ปฏิบัติงาน 2 ความรู้และนวัตกรรมในการบริหารจัดการ 3 ความรู้ใหม่จากภายนอกที่นำมาประยุกต์ใช้ในคณะแพทยศาสตร์
การดำเนินงาน 1 จัดเวที Knowledge Sharing Day 2 เชิญวิทยากรจาก สคส. มาถ่ายทอดเทคนิควิธีการในแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 จัดให้มีการ coaching ระหว่างหน่วยงาน 4 หา best practice แล้วมากำหนดเป็นมาตรฐานของคณะ 5 มี web board 6 มีเวทีในการติดต่อแลกเปลี่ยนความรู้ 7 ประกาศ สนับสนุนให้จัดตั้งกลุ่ม หรือชุมชนนักปฏิบัติ
การสื่อสาร KM 1 เรื่องจัดทำ KM NEWS กำหนดออกทุก 2 เดือน 2 Knowledge Sharing Day กำหนดจัดปีละ 3 ครั้ง
ดัชนีหลัก (Indicator) วัดความสำเร็จด้านการจัดการความรู้ KM Activity ไม่กำหนดจำนวนครั้ง/ จำนวนคนที่เข้าร่วม แต่ เน้นคุณภาพ จัดตามความพร้อม CoP ตั้งเป้าหมาย 5 กลุ่ม/ปี ODOK(One Division/Department One Knowledge ) : หนึ่งหน่วยงาน หนึ่งความรู้
KM TOOL ศักยภาพของ "คน" นำมาซึ่งความสำเร็จอย่างน่ามหัศจรรย์ ศักยภาพ โดดเด่นขึ้นมา ที่สำคัญอยู่ที่ใจ โดยการนำประสบการณ์ ความรู้ที่มีอยู่ในคน (Tacit Knowledge) และ "คว้า" (Capture) ความรู้ภายนอกองค์กรมาใช้ในการทำงาน
ตัวอย่าง KM TOOL - การจัดตารางรายชื่อและวิธีติดต่อผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน - การกระจายความรู้ - การจัดประชุมให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ - การจัดกระบวนการกลุ่มให้คนต่างหน่วยงานได้มาทำงานแก้ปัญหาร่วมกัน
Knowledge sharing Best practice ด้านการประสานงานร่วมมือ การสื่อสารที่ดีที่สุด อายุรศาสตร์ หน่วยรังสีรักษา คลินิกหู คอ จมูก ภาคกุมารเวชศาสตร์ ภาควิสัญญีวิทยา
ตัวย่าง Best Practice ด้านการประสานงานร่วมมือและช่วยเหลือกัน ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ของหอผู้ป่วยพิเศษเฉลิมพระบารมี 8
กลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จทีมเจ้าหน้าที่หอผู้ป่วย + ทีมแพทย์ + ทีมเจ้าหน้าที่อื่นๆ • ทีมเจ้าหน้าที่หอผู้ป่วย ทุกคนมองเห็นปัญหาและร่วมกัน การติดตามอย่างใกล้ชิด การตอบสนองอย่างรวดเร็ว การสื่อสารภายในทีม • ใช้สมุดบันทึกเหตุการณ์ • แฟ้มหนังสือเวียน • การประชุมหอผู้ป่วยทุก 2 เดือน หลักในการบริหารทีมที่สำคัญ • หัวหน้าต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ลูกน้อง • ใช้หลักการกระจายงาน • เปิดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคิดเห็น
กลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จกลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จ 2. ทีมแพทย์ • จัดเจ้าหน้าที่ตามแพทย์ • การสื่อสารกับแพทย์ 3. ทีมเจ้าหน้าที่อื่นๆ • เจ้าหน้าที่โภชนาการอาหาร
“ในการทำงาน ถ้าเราจะบริการให้ดี ต้องคิดเสมอว่า ผู้ที่อยู่ตรงหน้าเรา เป็นเสมือน พ่อ แม่ หรือญาติของเรา ถ้าเราคิดได้อย่างนี้ เราต้องทำดีแน่นอน”
CoP ของคณะแพทยศาสตร์ • CoP ปีละ 5 กลุ่ม • - กลุ่มที่มีความสนใจเรื่องเดียวกันมาร่วมกันพัฒนา • - รวมกลุ่มบุคลากรที่หลากหลาย
CoP ที่เน้นการบริหารจัดการ • CoP Discharge Planning- CoP ระบบนัด - CoP การบริหารยา (Medication Error) • จัดตั้งกลุ่ม CoP ด้านการบริหาร
IT กับการจัดการความรู้ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ระบบเครือข่าย IT (Network) 2. ระบบความปลอดภัย (Security) 3. การออกแบบระบบฐานข้อมูล 4. โปรแกรมสนับสนุนเพื่อช่วยสืบค้นข้อมูล
IT กับการจัดการความรู้
บทส่งท้าย เรียนรู้ ลองทำ และปรับใช้อย่างต่อเนื่อง เรียนรู้จากงาน เจือจานแบ่งปัน เรียนรู้ด้วยกัน สร้างสรรค์คณะเรา