1 / 74

การบรรยายตำแหน่ง ผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

การบรรยายตำแหน่ง ผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ. เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรเชี่ยวชาญ 9 sathien@swu.ac.th. พ.ร.บ.อุดมศึกษา 2547 ม. 18(ค) ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ หรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ

obert
Download Presentation

การบรรยายตำแหน่ง ผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยายตำแหน่งผู้ชำนาญการผู้เชี่ยวชาญผู้เชี่ยวชาญพิเศษการบรรยายตำแหน่งผู้ชำนาญการผู้เชี่ยวชาญผู้เชี่ยวชาญพิเศษ เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรเชี่ยวชาญ 9 sathien@swu.ac.th

  2. พ.ร.บ.อุดมศึกษา 2547 ม. 18(ค) ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ หรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ ม. 17 หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารงานบุคคลให้เป็นไปตามที่กำหนดในข้อบังคับของสถาบันอุดมศึกษา ม. 14(3) ก.พ.อ. กำหนดมาตรฐานการบริหารงานบุคคล เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการ

  3. โครงสร้างตำแหน่ง 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป (32สายงาน 32 ตำแหน่ง) 2. ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ (15 สายงาน 15 ตำแหน่ง) 3. ตำแหน่งเชี่ยวชาญเฉพาะ (24 สายงาน 25 ตำแหน่ง)

  4. แบ่งออกเป็นกลุ่มงาน 2 กลุ่ม 1. กลุ่มปฏิบัติการระดับต้น ( 3 กลุ่มสายงาน) 2. กลุ่มปฏิบัติการระดับกลาง ( 4 กลุ่มสายงาน)

  5. กลุ่มปฏิบัติการระดับต้นกลุ่มปฏิบัติการระดับต้น • 1. กลุ่มสายงานปฏิบัติงานด้านบริหาร 1 ตำแหน่ง • 2. กลุ่มสายงานปฏิบัติการด้านต่าง ๆ 16 ตำแหน่ง • 3. กลุ่มสายงานผู้ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์สุขภาพ 8 ตำแหน่ง

  6. กลุ่มปฏิบัติการระดับกลางกลุ่มปฏิบัติการระดับกลาง 1. กลุ่มสายงานบรรจุวุฒิเฉพาะทาง 6 ตำแหน่ง 2. กลุ่มสายงานที่ปฏิบัติงานด้านทั่วไป 1 ตำแหน่ง 3. กลุ่มสายงานที่เป็นตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ 15 ตำแหน่ง 4. กลุ่มสายงานที่เป็นตำแหน่งเชี่ยวชาญเฉพาะ 25 ตำแหน่ง

  7. ความก้าวหน้า 1. ระดับปฏิบัติการ 1.1 ปฏิบัติการระดับต้น ก. ปวช. ระดับควบ 1-3 ข. ปวส. ระดับควบ 2-4

  8. ความก้าวหน้า 1.2 ปฏิบัติการระดับประสบการณ์ ก. ปวช. เป็นระดับ 4,5 ข. ปวส. ระดับควบ 5,6

  9. ความก้าวหน้า 1.3 ปฏิบัติการระดับกลาง ก. ป.ตรี ระดับควบ 3-6 ข. ปโท. ระดับควบ 4-7

  10. ความก้าวหน้า ตำแหน่งผู้บริหาร ม. 18(ข)(7)(8) 1. หัวหน้างานภายในกอง/สำนักงานเลขานุการคณะ -กำหนด เป็นระดับ 7 2. หัวหน้ากลุ่มงานภายในสภาบัน/สำนักศูนย์ -กำหนด เป็นระดับ 7,8

  11. ความก้าวหน้า(ต่อ) 3. หัวหน้าหน่วยงาน/กลุ่มงานระดับกอง/สำนักงานเลขานุการ 3.1 ผู้อำนวยการกอง เป็นระดับ 7-8 3.2 เลขานุการ เป็นระดับ 7,8 4.หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี/สำนักงานวิทยาเขต กำหนด เป็นระดับ 8, 9

  12. ความก้าวหน้า(ต่อ) 5. หัวหน้าหน่วยงานที่มีลักษณะพิเศษ (โรงพยาบาล) 5.1 หัวหน้าที่ปฏิบัติงานโดยมิได้ใช้วิชาชีพ ระดับ 7-8 5.2 หัวหน้าที่ปฏิบัติงานโดยใช้วิชาชีพ ระดับ 8,9

  13. ความก้าวหน้า(ต่อ) ตำแหน่งชำนาญการ/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ ผู้ชำนาญการ กำหนดเป็นระดับ 6, 7-8 ผู้เชี่ยวชาญ กำหนดเป็นระดับ 9 ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ กำหนดเป็นระดับ 10

  14. ตำแหน่งปฏิบัติการระดับต้นตำแหน่งปฏิบัติการระดับต้น 1. เปลี่ยนตำแหน่งโดยใช้วุฒิ ป.ตรี เป็นสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 2. เป็นตำแหน่งผู้บริหาร 3. เลื่อนระดับในฐานะผู้มีประสบการณ์ 4. เป็นระดับชำนาญการ

  15. พนักงานมหาวิทยาลัย ข้อ8(2) กำหนดกรอบอัตรากำลัง และมาตรฐานกำหนดตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัย ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้แสดงชื่อของตำแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบ ลักษณะงาน คุณสมบัติสำหรับตำแหน่ง และอัตราค่าจ้างของตำแหน่ง

  16. พนักงานมหาวิทยาลัย(ต่อ)พนักงานมหาวิทยาลัย(ต่อ) ข้อ16 ..ในระยะสองปีแรกให้ทำสัญญาจ้างปีต่อปี โดยมีการประเมินผลการปฏิบัติงานทุกปี เมื่อการประเมินการปฏิบัติงานว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเหมาะสมในการปฏิบัติงาน จะได้รับการต่อสัญญาจ้างเป็นเวลาสามปี เมื่อมีการประเมินผลการปฏิบัติงานเห็นว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเหมาะสมในการปฏิบัติงานหลังครบสัญญาจ้าง จะได้รับการบรรจุแต่งตั้งเป็นพนักงานประจำ

  17. พนักงานมหาวิทยาลัย(ต่อ)พนักงานมหาวิทยาลัย(ต่อ) ข้อ 12 (ข) ตำแหน่งสนับสนุนวิชาการได้แก่ (1) หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี (2) ผู้อำนวยการกอง หัวหน้าฝ่าย (3) เลขานุการคณะ/สำนัก/สถาบัน/ศูนย์ (4) ตำแหน่งอื่นที่คณะกรรมการบริหารพนักงานกำหนด

  18. การเข้าสู่ตำแหน่ง 1.ระดับควบ 2.ประสบการณ์ 3.บริหาร 4.ชำนาญการ

  19. การเข้าสู่ตำแหน่ง 1.ระดับควบ ปวช 1-3 ปวส 2-4 ปตรี 3-6 ปโท 4-7

  20. การเข้าสู่ตำแหน่ง 1.ระดับควบ ไม่ต้องวิเคราะห์และประเมินค่างาน ต้องประเมินการปฏิบัติงาน ต้องประเมินคุณลักษณะของบุคคลที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง

  21. การเข้าสู่ตำแหน่ง 1.ระดับควบ(ต่อ) ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งเป็นหลัก เกณฑ์ 2-4 คะแนนรวมไม่ต่ำกว่า 3 เกณฑ์ 4-7 คะแนนรวมไม่ต่ำกว่า 3.5

  22. การเข้าสู่ตำแหน่ง 2.ผู้มีประสบการณ์ ปวช 1-3 -- 4,5 ปวส 2-4 -- 5,6

  23. การเข้าสู่ตำแหน่ง 2.ผู้มีประสบการณ์ (ต่อ) ต้องวิเคราะห์และประเมินค่างานก่อน ต้องประเมินผลงาน ต้องประเมินคุณลักษณะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง ดูคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งเป็นหลัก

  24. การเข้าสู่ตำแหน่ง 2.ผู้มีประสบการณ์ (ต่อ) เกณฑ์การประเมินค่างาน ระดับ 6 คะแนนรวม 80 คะแนนขึ้นไป ระดับ 5 คะแนนรวม 70 คะแนนขึ้นไป ระดับ 4 คะแนนรวม 60 คะแนนขึ้นไป

  25. การเข้าสู่ตำแหน่ง 2.ผู้มีประสบการณ์ (ต่อ) เกณฑ์การตัดสิน 6 ดีทุกรายการ คะแนนไม่ต่ำกว่า 3.5 5 ดีทุกรายการ คะแนนไม่ต่ำกว่า 3 4 ดีทุกรายการ คะแนนไม่ต่ำกว่า 2.5

  26. การเข้าสู่ตำแหน่ง 3. ผู้บริหาร ต้องวิเคราะห์และประเมินค่างานก่อน ต้องประเมินผลงาน ต้องประเมินคุณลักษณะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง ดูคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งเป็นหลัก ผ่านหลักสูตรการอบรมนักบริหาร

  27. การเข้าสู่ตำแหน่ง 3.ผู้บริหาร (ต่อ) เกณฑ์การประเมินค่างาน ระดับ 9 คะแนนรวม 90 คะแนนขึ้นไป ระดับ 8 คะแนนรวม 80 คะแนนขึ้นไป ระดับ 7 คะแนนรวม 70 คะแนนขึ้นไป

  28. การเข้าสู่ตำแหน่ง 3.ผู้มีประสบการณ์ (ต่อ) เกณฑ์การตัดสินการแต่งตั้งให้ตำแหน่งบริหาร กำหนดในลักษณะเหมาะสม หรือ ไม่เหมาะสม

  29. ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ ผู้ชำนาญการ กำหนดเป็นระดับ 6, 7-8 ผู้เชี่ยวชาญ กำหนดเป็นระดับ 9 ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ กำหนดเป็นระดับ 10

  30. การกำหนดตำแหน่ง ประกาศ ก.พ.อ. กำหนดให้พิจารณา ความจำเป็นตามภารกิจของหน่วยงาน โดยให้สภาแต่ละสถาบันกำหนด

  31. ความจำเป็นตามลักษณะงานของหน่วยงานความจำเป็นตามลักษณะงานของหน่วยงาน ก. ภารกิจหลักของหน่วยงาน ข. หน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะ งานของตำแหน่ง

  32. ภารกิจหลักของหน่วยงานภารกิจหลักของหน่วยงาน 1. หน่วยงานที่ปฏิบัติภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา(หน่วยงานที่ทำหน้าที่สอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการ) 2. หน่วยงานที่ปฏิบัติภารกิจสนับสนุนภารกิจหลัก(ทำหน้าที่บริหารจัดการ)

  33. ลักษณะงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบลักษณะงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบ ระดับชำนาญการ ลักษณะงานต้องปฏิบัติโดยผู้มีความรู้ความสามารถ ความชำนาญงาน ทักษะ หรือประสบการณ์ในการปฏิบัติงานเฉพาะด้านหรือเฉพาะทาง และต้องทำการศึกษาค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือวิจัย

  34. ลักษณะงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบลักษณะงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบ ระดับชำนาญการ(ต่อ) โดยใช้หรือประยุกต์หลักการ เหตุผล แนวคิด วิธีการ เพื่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ หรือพัฒนางานในหน้าที่และงานเฉพาะด้านหรือเฉพาะทางหรือแก้ไขปัญหาในงานหลักที่ปฏิบัติซึ่งมีความยุ่งยากและมีขอบเขตกว้างขวาง

  35. ลักษณะงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบลักษณะงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบ ระดับเชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ ลักษณะงานต้องปฏิบัติโดยผู้มีความรู้ทฤษฎีหลักวิชา หรือหลักการเกี่ยวกับงานเฉพาะด้านหรือเฉพาะทาง และเป็นงานเชิงพัฒนาระบบหรือมาตรฐานของงาน หรือพัฒนาทฤษฎี หลักการ ความรู้ใหม่ ซึ่งต้องมีการวิจัยเกี่ยวกับงานเฉพาะด้านหรือเฉพาะทาง และนำมาประยุกต์ใช้ปฏิบัติ

  36. ลักษณะงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบลักษณะงาน/หน้าที่ความรับผิดชอบ ระดับเชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ(ต่อ) โดยต้องประยุกต์ทฤษฎีแนวคิดใหม่เกี่ยวกับเนื้อหาของงาน เพื่อแก้ไขปัญหาในงานที่มีความยุ่งยากมากและมีขอบเขตกว้างขวางมากหรือถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับงานตลลิดจนให้คำปรึกษาแนะนำหรือปรับปรุง ผสมผสานเทคนิคระดับสูงระหว่างสาขาที่เกี่ยวข้อง

  37. การกำหนดตำแหน่ง ชำนาญการ กำหนดให้มีได้ทุกหน่วยงาน เชี่ยวชาญ กำหนดให้มีได้เฉพาะหน่วยงานที่ปฏิบัติภารกิจหลัก ที่ทำหน้าที่สอน วิจัย คือ คณะ สำนัก สถาบัน และหน่วยงานทีปฏิบัติงานสนับสนุน เฉพาะสำนักงานอธิการบดี

  38. การกำหนดตำแหน่ง เชี่ยวชาญพิเศษ กำหนดให้มีได้เฉพาะหน่วยงานที่ปฏิบัติภารกิจหลัก ที่ทำหน้าที่สอน วิจัย คือ คณะ สำนัก สถาบัน

  39. ภายในหน่วยงานหลัก 1. ผู้ชำนาญการ ระดับ 6 ,7- 8 2. ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 3. ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10

  40. หน่วยปฏิบัติงานสนับสนุนหน่วยปฏิบัติงานสนับสนุน สำนักงานอธิการบดี/หน่วยงานภายในสำนักงานอธิการบดี/สำนักงานคณบดี/สำนักงานผู้อำนวยการ ปฏิบัติภารกิจอำนวยการให้ภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาดำเนินไปโดยสะดวก

  41. สำนักงานอธิการบดี ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9

  42. กอง กลุ่มงาน หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า ผู้ชำนาญการ ระดับ 6, 7 - 8

  43. สำนักงานเลขานุการคณะ/สำนัก/สถาบัน/ศูนย์/หรือหน่วยงานที่เทียบเท่าสำนักงานเลขานุการคณะ/สำนัก/สถาบัน/ศูนย์/หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า ผู้ชำนาญการ ระดับ 6, 7 - 8

  44. หลักเกณฑ์ ผู้ชำนาญการ ระดับ 6, 7-8 1. ระยะเวลา และคุณวุฒิ 2. ปริมาณงาน 3. คุณภาพของงาน 4. ผลงานที่แสดงความเป็น ผู้ชำนาญการ

  45. หลักเกณฑ์ ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 1. ระยะเวลา และคุณวุฒิ 2. ปริมาณงาน 3. คุณภาพของงาน 4. ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ 5. การใช้ความรู้ความสามารถในงาน

  46. หลักเกณฑ์ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 1. ระยะเวลา และคุณวุฒิ 2. ปริมาณงาน 3. คุณภาพของงาน 4. ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ 5. การใช้ความรู้ความสามารถในงาน 6. ความเป็นที่ยอมนับนับถือในงานด้านนั้น ๆ หรือ วิชาชีพนั้น ๆ

  47. ระยะเวลา คุณวุฒิ • ผู้ชำนาญการ ระดับ 6, 7-8 • -ปวช 16 ปี -ปวส 12 ปี • ป.ตรี 9 ปี -ป.โท 5 ปี • ป.เอก 2 ปี

  48. สูตรในการคำนวณเวลา คุณวุฒิ ต.น.อ.ป.+อ.น.ป.+ป.ตรี+ป.โท+ป.เอก=1 16 12 9 5 2 -ไม่มีวุฒิตัดออก -คำนวณเป็นวัน หรือเดือน ต้องเปลี่ยนปีที่เป็นตัวหาร -วุฒิที่ต้องการทราบสมมุติเป็น x

  49. ระยะเวลา คุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 ปริญญาตรี และดำรงตำแหน่งชำนาญการหรือเทียบเท่าของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ขึ้นไปมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี

  50. ระยะเวลา คุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 ปริญญาตรี และดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญ หรือเทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี

More Related