1 / 24

แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. รองศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาติ บัวเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ 1 สิงหาคม 2555. วิธีสอน. หลักสูตร. ผู้เรียน. ผู้สอน. ปฏิสัมพันธ์. สื่อการสอน. สิ่งแวดล้อม.

ocean
Download Presentation

แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาติ บัวเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ 1 สิงหาคม 2555

  2. วิธีสอน หลักสูตร ผู้เรียน ผู้สอน ปฏิสัมพันธ์ สื่อการสอน สิ่งแวดล้อม ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของการเรียนการสอน

  3. จุดประสงค์ของการเรียนการสอนจุดประสงค์ของการเรียนการสอน การประเมินผล ก่อนสอน กระบวนกาเรียน การสอน การประเมินผล หลังสอน ผลย้อนกลับ ปฏิสัมพันธ์ของกระบวนการเรียนการสอน

  4. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 มาตรา 22: ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

  5. เดิม TQF วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา

  6. มคอ.1 (มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา) มคอ.5 (รายงานผลการดำเนินการ ของรายวิชา) มคอ.2 (รายละเอียดของหลักสูตร) มคอ.6 (รายงานผลการดำเนินการ ของประสบการณ์ภาคสนาม) มคอ.3 (รายละเอียดของรายวิชา) มคอ.7 (รายงานผลการดำเนินการ ของหลักสูตร) ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบ TQF มคอ.4 (รายละเอียดของ ประสบการณ์ภาคสนาม)

  7. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ด้านความรู้ มาตรฐานผลการเรียนรู้ (Domains of Learning)

  8. ปรัชญาการวัดผลทางการศึกษาปรัชญาการวัดผลทางการศึกษา • ดร.ชวาล แพรัตกุล ได้สรุปแนวความคิดหรือมีคติที่ควรยึดถือเกี่ยวกับการศึกษาดังนี้ 1. ถือว่าการสอบเป็นส่วนหนึ่งของการสอน 2. การสอบควรมุ่งวัดศักยภาพมากกว่าที่จะวัความจำ 3. สอบเพื่อวินิจฉัย 4. สอบเพื่อประเมินค่า 5. ทดสอบเพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพ

  9. การทดสอบ การวัดผล การประเมินผล ข้อสอบ ชิ้นงาน สังเกต แบบสอบถาม ฯลฯ คะแนน - ผ่าน-ไม่ผ่าน - A, B+, B, C+, C, D - ได้ที่ 1, 2 ฯ

  10. ความถูกต้องของการวัด การวัดไม่ว่าจะเป็นระบบหรือระดับใดก็ตาม ต้องมีความคลาดเคลื่อน (Error) อยู่เสมอ ความคลาดเคลื่อนจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้

  11. ธรรมชาติของการวัดผลการศึกษาธรรมชาติของการวัดผลการศึกษา 1. การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม 2. การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์ในตัว 3. การวัดทางการศึกษาเป็นการศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลที่ได้จากการวัดกับองค์ประกอบอื่น ๆ 4. ผลจากการวัดมีความคลาดเคลื่อนเสมอ

  12. รูปแบบพื้นฐานของการเรียนการสอน จะเห็นว่าการวัดผลจะเข้าไปเกี่ยวข้องอยู่ 3 ตอน คือ • การวัดผลก่อนการเรียน (Pre -evaluation) • การวัดผลระหว่างเรียน (Formative evaluation) • การวัดผลหลังการเรียน(Summative evaluation)

  13. หลักการวัดผลการศึกษา

  14. 1. การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม (Norm – Referenced Evaluation) มีจุดประสงค์เพื่อกระจายบุคคลทั้งกลุ่มไปตามความสามารถของแต่ละบุคคล ลักษณะของข้อสอบต้องมีค่าอำนาจจำแนกสูงเพื่อจำแนกบุคคลในกลุ่ม และมีความยากง่ายพอเหมาะ จะแปลผลโดยใช้กลุ่มเป็นหลักในการเปรียบเทียบโดยดูว่าใครเด่น - ด้อยอย่างไร ใครเป็นอันดับที่เท่าใดของกลุ่ม 2. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion – Referenced Evaluation ) มีจุดประสงค์เพื่อพิจารณาว่า เมื่อเรียนจนจบแต่ละหน่วยแล้วผู้เรียนมีความรอบรู้ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้หรือไม่เป็นการวัดพฤติกรรมที่คาดหวังที่กำหนดขึ้นสำหรับการเรียนการสอนในช่วงใดช่วงหนึ่ง เพื่อแสดงความงอกงามของผู้เรียน จะแปลผลในรูปที่ว่าผู้รียนรอบรู้หรือยังไม่รอบรู้ โดยบอกให้ทราบว่าผู้เรียนแต่ละคนสามารถทำอะไรได้บ้างจากการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ การประเมินผลการเรียน

  15. การแปลความหมายของคะแนนการแปลความหมายของคะแนน

  16. การตัดสินผล เก่ง อ่อน ผ่าน ไม่ผ่าน

  17. การตัดเกรด การตัดเกรด (grading) หรือการให้ระดับคะแนน เป็นวิธีการสรุปผลการเรียน เพื่อประเมินผลและกำหนดระดับของความสามารถในการเรียนของผู้เรียนว่าผ่านหรือไม่ผ่าน เก่งหรืออ่อน ระดับ A B C D หรือ F การตัดเกรดจึงเป็นการนำผลการสอบวัดในทุก ๆ ระยะของการเรียนการสอน และทุกชนิดไปใช้ประเมิน

  18. องค์ประกอบของการตัดเกรดองค์ประกอบของการตัดเกรด 1. ผลการวัด (measurement) 2. เกณฑ์การพิจารณา (criteria) 3. วิจารณญาณและคุณธรรมต่าง ๆ (value judgement)

  19. รูปแบบของการตัดเกรด 1. แบบใช้เกณฑ์ที่คาดหวัง หรือเป็นแบบตั้งเกณฑ์ไว้ตายตัว (absolute marking system) เป็นระบบการให้เกรดที่ใช้คะแนนดิบหรือเปอร์เซ็นต์ที่เด็กสอบได้เป็นหลักในการตัดเกรด เช่น เด็กได้ 90% ขึ้นไป ให้เกรด A ได้ 75% - 89% ให้เกรด B เป็นต้น 2. แบบใช้เกณฑ์สัมพันธ์ (relative marking system) เป็นระบบการให้เกรดโดยการเปรียบเทียบคะแนนของเด็กภายในกลุ่ม แล้วใช้วิจารณญาณของผู้สอนกำหนดเกณฑ์การพิจารณาตามสภาพของกลุ่มนั้น

  20. การแบ่งเกรด 1. แบ่งออกเป็น 5 เกรดในกรณีที่ผู้เข้าสอบมีความสามารถแตกต่างกันมาก คือคนเก่งก็เก่งจริง คนอ่อนก็อ่อนจริง และจะต้องมีผู้เข้าสอบมากพอสมควร 2. แบ่ง 4 เกรด ใช้ในกรณีที่นักเรียนกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกันไม่มาก คือ - A.B.C.D ถ้าคนอ่อนยังไม่ถึงขั้นสมควรตก - B.C.D.F ถ้าคนเก่งยังไม่ถึงขั้นได้ A คนอ่อนก็ไม่สมควรสอบได้ 3. แบ่ง 3 เกรด ใช้ในกรณีที่นักเรียนกลุ่มมีความสามารถไล่เลี่ยกัน คือ - A.B.C. ถ้ายอดของกลุ่มเก่งควรได้ A และคนอ่อนพอใช้ได้ - B.C.D. ถ้ายอดของกลุ่มไม่ถึงขนาดได้ A และคนอ่อนก็อ่อนมาก - C.D.F. ถ้ายอดของกลุ่มไม่เก่งและท้ายกลุ่มก็อ่อนมาก

  21. การตัดเกรด T- score

  22. ข้อควรระวังเมื่อประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ข้อควรระวังเมื่อประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ 1. ข้อสอบต้องมีคุณภาพดี - Validity - Reliability 2. การตั้งเกณฑ์ผ่าน

  23. ข้อควรระวังเมื่อประเมินผลแบบอิงกลุ่ม โดย T- score 1. การให้คะแนนแบ่งเป็นช่วงใต้โค้งปกติ จะต้องแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน T 2. การให้คะแนนผู้เรียนสองกลุ่มที่มีคะแนนต่างกันอาจไม่ยุติธรรม จึงควรต้องหาเกณฑ์ผ่านก่อนแล้วมาตัดเกรด

More Related