390 likes | 814 Views
การควบคุมคุณภาพ. ( QUALITY CONTROL ). ของกลุ่มงานรังสีวิทยา. รังสีพัฒนา นำพา C.Q.I. จำนวนสมาชิก. พญ.ประพาฬรัตน์. ผู้ประสานงานกลุ่ม. ที่ปรึกษากลุ่ม. พญ.ณัฐธยาน์. หัวหน้ากลุ่ม. นิมิตร์. พญ.ปรียานุช. เลขานุการกลุ่ม. รองหัวหน้ากลุ่ม. ทินกร. แนน. สมาชิก. มาโนช. ศศิวิมล.
E N D
การควบคุมคุณภาพ ( QUALITY CONTROL ) ของกลุ่มงานรังสีวิทยา
จำนวนสมาชิก พญ.ประพาฬรัตน์ ผู้ประสานงานกลุ่ม ที่ปรึกษากลุ่ม พญ.ณัฐธยาน์ หัวหน้ากลุ่ม นิมิตร์ พญ.ปรียานุช เลขานุการกลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม ทินกร แนน สมาชิก มาโนช ศศิวิมล อารมณ์ ณรงค์ ปราณี วิยดา พรทิพย์ ประจวบ
คุณสมบัติ ( เฉลี่ย ) 1. การศึกษา ปริญญาตรี 2. อายุ 35 ปี 3. ประสบการณ์การทำงาน 10 ปี 4. ประสบการณ์คิวซี เรื่องที่ 3 จดทะเบียนตั้งกลุ่มเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2546 ประจำหน่วยงาน กลุ่มงานรังสีวิทยา
เป้าหมาย อัตราถ่ายฟิล์มซ้ำ ไม่เกิน 3 %
ตารางแผนงาน แผน ลดอัตราฟิล์มถ่ายซ้ำลงเหลือไม่เกิน 3 % ปฏิบัติจริง ระยะเวลา 16 สัปดาห์ จดทะเบียนทำกิจกรรม เมื่อ 8 ก.ค. 2546
ข้อมูลปริมาณฟิล์มถ่ายซ้ำจากสาเหตุต่าง ๆ ก่อนแก้ปัญหา
ข้อมูลปริมาณฟิล์มถ่ายซ้ำจากสาเหตุต่าง ๆ ก่อนแก้ปัญหา
วิธีการคำนวณ จำนวนฟิล์มที่เสีย X 100 สูตร จำนวนฟิล์มที่ใช้ทั้งหมดในแต่ละเดือน 120 x 100 130 x 100 77 x 100 90x100 2126 2010 1909 2188
กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์ฟิล์มถ่ายซ้ำก่อนแก้ปัญหากราฟแสดงเปอร์เซ็นต์ฟิล์มถ่ายซ้ำก่อนแก้ปัญหา เปอร์เซ็นต์ ( % ) 5.4 5.1 4.2 4.0 เดือน / 2549
จนท.ห้องเอกซเรย์ ให้คำแนะนำไม่ชัดเจน จากห้องถ่าย จากผู้ป่วย ไม่อ่านใบ REQUEST จนท.ห้องเอกซเรย์ ขาดความชำนาญ ภาพ BLUR จนท.ห้องเอกซเรย์ ให้คำแนะนำไม่ชัดเจน ภาพ BLUR จากผู้ป่วย ไม่รู้สึกตัว จนท.ห้องเอกซเรย์ ให้ค่าEXPOSURE มากหรือน้อยเกินไป ไม่รอบคอบ POSITION หรือตำแหน่งผิด ผู้ป่วยหายใจเข้าไม่เต็มที่ จนท.ห้องเอกซเรย์ ขาดความชำนาญ เครื่องประดับบัง ไม่มี EXPOSURE CHART จนท.ห้องเอกซเรย์ ให้คำแนะนำไม่ชัดเจน ถ่ายไม่คลุม ฟิล์มถ่ายซ้ำ SAFE LIGHT สว่างเกินไป ทำให้ฟิล์ม FOG ฟิล์มมีรอยขาว กำลังหลอดไฟเกินมาตรฐาน ขาดการดูแลอย่างสม่ำเสมอ SCREEN ไม่สะอาด จากห้องล้าง จากฟิล์มและ SCREEN
แผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เริ่ม 17 เม.ย 2549 นิมิตร์ 1. จนท.ห้องเอกซเรย์ ให้ค่า Exposure มาก / น้อยไป สิ้นสุด 28 เม.ย 2549 - จนท.ห้องเอกซเรย์ ขาดความชำนาญ - ไม่มี Exposure chart - จัดอบรมเรื่อง การตั้งค่า Exposure - จัดทำ Exposure chart
แผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เริ่ม 20 เม.ย 2549 2. ถ่ายไม่ครอบคลุม ทินกร สิ้นสุด 20 เม.ย 2549 • จนท.ห้องเอกซเรย์ • ขาดความชำนาญ • ในเรื่องการจัด • Position จัดอบรมเรื่อง การ ให้คำแนะนำ ผู้ป่วยเพื่อให้ปฏิบัติ ตามคำแนะนำ
แผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เน้น จนท.ทุกคน ให้ตรวจสอบ ใบ Requestทุกครั้ง 3. ไม่อ่านใบ Request ทำให้ถ่ายผิดตำแหน่ง • ไม่รอบคอบ พญ.ณัฐธยาน์ เริ่ม 17 เม.ย 2549 สิ้นสุด 28 เม.ย 2549
แผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เริ่ม 19 เม.ย 2549 4. ผู้ป่วยขยับตัวทำให้ ภาพเอกซเรย์ Blur นิมิตร์ สิ้นสุด 19 เม.ย 2549 • จนท.ห้องเอกซเรย์ • ให้คำแนะนำ • ไม่ชัดเจน จัดอบรมในเรื่อง การจัด Position
แผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา 5. ผู้ป่วยไม่ปฏิบัติ ตามคำแนะนำทำให้มี เครื่องประดับบัง จัดอบรมเรื่อง การ ให้คำแนะนำ ผู้ป่วย เพื่อให้ปฏิบัติตาม คำแนะนำ • จนท.ห้องเอกซเรย์ • ให้คำแนะนำ • ไม่ชัดเจน ศศิวิมล เริ่ม 21 เม.ย 2549 สิ้นสุด 21 เม.ย 2549
แผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เริ่ม 24 เม.ย 2549 6. ผู้ป่วยหายใจ เข้าไม่เต็มที่ มาโนช สิ้นสุด 24 เม.ย 2549 • จนท.ห้องเอกซเรย์ • ให้คำแนะนำ • ไม่ชัดเจน จัดอบรมเรื่อง การ ให้คำแนะนำ ผู้ป่วย เพื่อให้ปฏิบัติตาม คำแนะนำ
แผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา • ขาดการดูแล • อย่างสม่ำเสมอ 7. ไม่ทำความสะอาด Screen ทำให้ฟิล์มมีรอยขาว จัด จนท. รับผิดชอบ ทำความสะอาด Screen ทุก 1 เดือน วิยดา , แนน เริ่ม ทุกเดือน ไม่มีสิ้นสุด
แผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา กำลัง Watt ของ หลอดไฟ เกินมาตรฐาน 8. Safe light สว่างเกินไป ทำให้ ฟิล์ม Fog นิมิตร์ ทินกร , ศศิวิมล ทำการตรวจสอบ Safe light ให้อยู่ ในมาตรฐาน เริ่ม 3 เม.ย 2549 สิ้นสุด 3 เม.ย 2549
ข้อมูลปริมาณฟิล์มถ่ายซ้ำจากสาเหตุต่าง ๆ หลังแก้ปัญหา
วิธีการคำนวณ สูตร จำนวนฟิล์มที่เสีย X 100 จำนวนฟิล์มที่ใช้ทั้งหมดในแต่ละเดือน 80 x 100 85 x 100 93 x 100 89x100 2188 2117 2010 1909
กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์ฟิล์มถ่ายซ้ำหลังทำ CQI เปอร์เซ็นต์ ( % ) 4.1 4.1 4.0 3.9 เป้าหมาย ไม่เกิน 3 % เดือน 2549
ตั้งมาตรฐานการทำงาน 1. เมื่อจะทำการเอกซเรย์เจ้าหน้าที่ต้องดู Exposure chart ก่อนทุกครั้ง 2. อ่านคู่มือและปฏิบัติตามคู่มือการจัด Position เมื่อเกิดความสงสัย 3. ให้คำแนะนำผู้ป่วยอย่างชัดเจน ก่อนทำการเอกซเรย์ 4. ตรวจสอบใบ Request ให้ถูกต้องทุกครั้ง 5. ทำความสะอาด Screen เดือนละ 1 ครั้ง
แผนการติดตามผล กลุ่มจะรวบรวมข้อมูลจำนวนฟิล์มถ่ายซ้ำของแต่ละเดือน หากพบว่าจำนวนฟิล์มถ่ายซ้ำมากกว่า 3 % กลุ่มจะวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุ และดำเนินการแก้ไขต่อไป
กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์เปรียบเทียบฟิล์มถ่ายซ้ำก่อนและหลังทำ CQI. เปอร์เซ็นต์ ( % ) ก่อนทำ หลังทำ 5.4 5.1 4.2 4.1 4.0 4.1 4.0 3.9 เป้าหมาย ไม่เกิน 3 % เดือน / 2549
สรุปผล ผลทางตรง เป้าหมาย ผลการปรับปรุง ก่อนแก้ หลังแก้ ( % ) ( % ) ปริมาณฟิล์มถ่ายซ้ำ เฉลี่ย 4 เดือน ธ.ค.2548 - มี.ค 2549 ปริมาณฟิล์มถ่ายซ้ำ เฉลี่ย 4 เดือน มิ.ย. - ก.ย. 2549 ลดอัตรา ฟิล์มถ่ายซ้ำ ลงเหลือ ไม่เกิน 3 % 4.0 % 5.0 % 4.0 %
ผลทางอ้อม 1. ผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีน้อยลง 2. ลดต้นทุนค่าเอกซเรย์ 3. สมาชิกกลุ่มได้ทำงานเป็นทีม 4. เกิดความสามัคคีในกลุ่ม
อุปสรรค 1. หาเวลาประชุมลำบาก เนื่องจากสมาชิกในกลุ่มมีงานประจำ 2. เจ้าหน้าที่บางคน ไม่ยอมดู Exposure chart ก่อนเอกซเรย์ 3. เจ้าหน้าที่บางคนเมื่อเกิดความสงสัยในการจัด Position ไม่ยอมดู และปฏิบัติตามคู่มือการจัด Position 4. ทำความเข้าใจกับผู้ป่วยก่อนการเอกซเรย์ไม่ชัดเจน และยังไม่เพียงพอ 5. ขาดความรอบคอบในการตรวจสอบใบ Request 6. การเวียนเจ้าหน้าที่ตามห้องปฏิบัติงานทำให้เกิดการขาดช่วงใน การกลับมา ปฏิบัติงานห้องเดิม
แนวทางแก้ไข 1. นัดวันประชุมล่วงหน้า เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มจัดตาราง การทำงาน เพื่อให้มีเวลาสามารถเข้าร่วมประชุมได้ 2. เน้นให้เจ้าหน้าที่ทุกคนดู Exposure chart ก่อนเอกซเรย์ 3. เน้นให้เจ้าหน้าที่ทุกคนดู และปฎิบัติตามคู่มือการจัด Position ก่อนเอกซเรย์
แนวทางแก้ไข 4. ใช้สูตรในการคำนวณความหนาของผู้ป่วยในการใช้ Exposure ในการออกเอกซเรย์เคลื่อนที่ 5. ประชุม และจัดอบรมเจ้าหน้าที่ เรื่องการตรวจสอบ ความถูกต้องของใบ Request ก่อนการเอกซเรย์ 6. ประชุม และจัดอบรมเจ้าหน้าที่ เรื่องการอธิบาย ให้ผู้ป่วยทราบถึงการเตรียมตัวก่อนการเอกซเรย์ 7. แจ้งผลการประชุมแก่ผู้ไม่มาร่วมประชุม
แผนในอนาคต กิจกรรมเรื่อง CQI ฟิล์มถ่ายซ้ำไม่เกิน 3 % เหตุผล เป็นการควบคุมคุณภาพของฟิล์มถ่ายซ้ำให้ไม่เกิน 3 %