380 likes | 539 Views
คุยกันก่อนแก้ไข พ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. คุณรพี สุจริตกุล ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโส สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 23 เมษายน 2546. หัวข้อการบรรยาย. คณะอนุกรรมการพิจารณาการแก้ไข พ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ วัตถุประสงค์ของการแก้ไข พ.ร.บ. 3. การแก้ไข พ.ร.บ.
E N D
คุยกันก่อนแก้ไข พ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คุณรพี สุจริตกุล ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโส สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 23 เมษายน 2546
หัวข้อการบรรยาย • คณะอนุกรรมการพิจารณาการแก้ไข พ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • วัตถุประสงค์ของการแก้ไข พ.ร.บ. 3. การแก้ไข พ.ร.บ. 4. การดำเนินการต่อไป
1.คณะอนุกรรมการ องค์ประกอบ ประธาน ดร.พนัส สิมะเสถียร ผู้แทนสมาคมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม ผู้แทนสมาคมบริษัทจัดการลงทุน คุณอารยา ธีระโกเมน ผู้แทน กบข. คุณสมคิด ธีระเวช ผู้แทนกระทรวงการคลัง คุณชัยยุทธ สุทธิธนากร ผู้แทนชมรมคัสโตเดียน คุณบดินทร์ อูนากุล จำนวนการประชุม9 ครั้ง (เดือนสิงหาคม 2545 - เดือนมีนาคม 2546)
2. วัตถุประสงค์ของการแก้ไข พ.ร.บ. 1. สร้างกรอบกฎหมายที่จะทำให้คณะกรรมการกองทุนตระหนักถึงบทบาทหน้าที่และความสำคัญของตนเองต่อกองทุนและสมาชิก ยิ่งขึ้น 2. สร้างกลไกและระบบการบริหารจัดการกองทุนที่ดี เพื่อให้สมาชิกมั่นใจได้ว่าเงินที่จะเป็นหลักประกันเมื่อออกจากงานได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ให้สมาชิกได้รับการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอเพื่อเป็นกลไกที่จะทำให้สมาชิกสามารถดูแลและพิทักษ์สิทธิของตนเองได้มากขึ้น 4. สนับสนุนการออมผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้มีความต่อเนื่อง แม้จะมีการเปลี่ยนงานหรือโยกย้ายงาน
3. การแก้ไข พ.ร.บ. 1. โครงสร้างกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 2. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 3. การจัดตั้งกองทุน 4. การส่งเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 5. การจ่ายเงินให้สมาชิก 6. การเลิกกองทุนและการชำระบัญชี 7. บทกำหนดโทษและมาตรการเยียวยา
1. โครงสร้างกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ปัจจุบัน พ.ร.บ. กำหนดให้ FCแต่งตั้ง บริษัทจัดการเพื่อทำหน้าที่ ในการจัดการกองทุน • ปัญหา • บริษัทจัดการมีความรับผิดชอบ • หลายด้าน เช่น • การลงทุน • ทำทะเบียนสมาชิก • คำนวณ NAV • ซึ่งอาจไม่มีความชำนาญในงาน • บางด้าน และกฎหมายไม่ได้ • แบ่งแยกผู้รับผิดชอบงาน • แต่ละด้านอย่างชัดเจน ทำให้ • การ outsource เกิดได้ยาก
1. โครงสร้างกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ใหม่ คณะกรรมการกองทุน แต่งตั้งและติดตามดูแล ผู้รับฝากทรัพย์สิน ผู้สอบบัญชี ตัวแทนขาย บริษัทจัดการ นายทะเบียนสมาชิก นำเงินของ กองทุนไป ลงทุน • เก็บรักษาทรัพย์สิน • ของกองทุน • รับและเบิกจ่าย • ทรัพย์สินของกองทุน แนะนำการ เลือกนโยบาย การลงทุนแก่ สมาชิก ตรวจสอบ บัญชี • จัดทำทะเบียน • สมาชิก • จ่ายผลประโยชน์ • ให้สมาชิกที่ • สิ้นสมาชิกภาพ • คำนวณ NAV
2. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน :ปัจจุบัน พ.ร.บ. กำหนดให้ FCมีหน้าที่ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของกองทุน ปัญหา กฎหมายระบุหน้าที่ในลักษณะ ทั่วๆ ไป โดยไม่ได้กำหนดหน้าที่ ที่ชัดเจนที่ FC ต้องใช้บทบาท ในการรักษาประโยชน์สูงสุดของ สมาชิก ภายใต้ความเสี่ยงที่ ยอมรับได้ (fiduciary duty)ไว้ ทำให้ FC ขาดแนวทางที่ชัดเจน ในการทำงาน • เช่น • ดูแลสิทธิประโยชน์ของสมาชิก • คัดเลือกบริษัทจัดการ • กำหนดนโยบายการลงทุน • ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุน • เป็นผู้แทนของกองทุนในการติดต่อ • กับบุคคลภายนอก
2. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน :ใหม่ กำหนดหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนให้ชัดเจนใน พ.ร.บ. “ในการดำเนินกิจการของกองทุน กรรมการกองทุนต้องปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ได้รับความไว้วางใจให้จัดการกิจการของบุคคลอื่น โดยมีจุดมุ่งหมายโดยชอบ เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของกองทุน รวมทั้งต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของกองทุน ตลอดจนมติที่ประชุมสมาชิกด้วย” นายทะเบียนจะกำหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียด
3. การจัดตั้งกองทุน : ปัจจุบัน ปัญหา 1. มีจำนวนกรรมการกองทุนมาก ทำให้การดำเนินงานของกองทุนขาดความคล่องตัว (จำนวนนายจ้าง x 2 100 – 200คน) 2. กรรมการกองทุนส่วนใหญ่เข้ามารับหน้าที่โดยสมัครใจและต่างสาขาอาชีพ จึงทำให้มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่แตกต่างกัน 3. Pooled fundส่วนใหญ่ บริษัทจัดการจัดตั้งและเสนอให้นายจ้างให้เข้าร่วม ซึ่งยังไม่มีมาตรฐานในการเปิดเผยข้อมูลเท่าที่ควร 3.1 กองทุนที่มีนายจ้างหลายราย (pooled fund) พ.ร.บ. ไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อรองรับ pooled fund เช่นFC ต้องเป็นตัวแทน จากนายจ้างและลูกจ้าง • ปัญหา
3. การจัดตั้งกองทุน : ใหม่ • FC Pooled fund FC เฉพาะส่วน นายจ้าง A FC เฉพาะส่วน นายจ้าง B FC เฉพาะส่วน นายจ้าง C FC หลัก ดูแลเรื่องที่มี ผลกระทบต่อกองทุนโดยรวม ดูแลรับผิดชอบ เฉพาะเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับ นายจ้างตน Pooled Fund • FC Single fund : เหมือนเดิม (ตัวแทนนายจ้างและลูกจ้าง)
3. การจัดตั้งกองทุน : ใหม่ (ต่อ) I. FC หลัก ของ Pooled Fund คุณสมบัติ - ไม่ใช่ผู้ถือหุ้น/ผู้บริหารหรือพนักงานของบริษัทจัดการ (ต้อง independentจากบริษัทจัดการ) - ต้องประกอบด้วยกรรมการที่มีความเชี่ยวชาญด้านบัญชี ด้านกฎหมาย (practicing lawyer) และด้านการลงทุน ซึ่งมีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 5 ปี อย่างละ 1 คน และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการยอมรับจากกรรมการ เฉพาะส่วน 4 คน รวมทั้งสิ้น 7 คน วาระการดำรงตำแหน่ง4 ปี การแต่งตั้งให้บริษัทจัดการเสนอรายชื่อขึ้นมาให้กรรมการเฉพาะส่วน ของแต่ละนายจ้างเห็นชอบและหากในภายหลังพบว่า ขาดคุณสมบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ไม่เหมาะสม สามารถถอดถอนได้
3. การจัดตั้งกองทุน : ใหม่ (ต่อ) II. เพื่อเพิ่มทักษะในการทำงานของ FC โดยจะกำหนดให้ FCทุกคนต้องผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ III.เพื่อให้นายจ้างและ FC ได้รับการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วนและชัดเจน บริษัทจัดการต้องยื่นขอความเห็นชอบโครงการจัดตั้ง pooled fundที่มี employee’s choice จากสำนักงานก่อนที่จะนำโครงการไปเสนอต่อนายจ้างหรือ FC
3. การจัดตั้งกองทุน : ปัจจุบัน พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ถือเป็น 1 นิติบุคคล ปัญหา กฏหมายไม่ได้ระบุชัดเจน เกี่ยวกับการแบ่งแยกสิทธิ ระหว่างนโยบายย่อยภายใน 1 กองทุน ซึ่งถือเป็น 1 นิติบุคคล 3.2 การจัดตั้ง master fund เพื่อรองรับ employee’s choice
3. การจัดตั้งกองทุน : ใหม่ เพิ่มทางเลือกในการจัดตั้งในรูปแบบ master fund ถือเป็น 1นิติบุคคล Single fund มีข้อบังคับกองทุนเช่นเดิม Pooled fund มีรายละเอียดโครงการ + ข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน Master fund แยกตามนโยบายการลงทุน EQ BL FI NAV แยกแต่ละนโยบาย
3. การจัดตั้งกองทุน : ใหม่ (ต่อ) • ทำให้เกิดการประหยัดต่อขนาดในด้านค่าใช้จ่าย • เพิ่มความสะดวกในการโอนย้ายระหว่างนโยบาย ภายใต้ master fund • มีทรัพย์สินอุทิศให้หรือเงินเพิ่มที่นายจ้างส่งเงินล่าช้า เพิ่มจำนวนหน่วยให้แก่สมาชิกของนายจ้างรายนั้น ๆ
4. การส่งเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ปัจจุบัน ปัญหา การคำนวณเงินเพิ่มควรใช้ เกณฑ์สิทธิหรือเกณฑ์ตามที่ จ่ายจริง กฎหมาย ทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้าง นายจ้างต้องนำส่งเงินสะสม เงินสมทบเข้ากองทุนภายใน 3 วันทำการนับแต่วันที่มีการ จ่ายค่าจ้าง หากส่งล่าช้า ให้นายจ้างจ่ายเงินเพิ่มให้ กองทุนในอัตรา 5% ต่อเดือน 4.1 การคำนวณเงินเพิ่มกรณีส่งเงินสะสมเงินสมทบล่าช้า
4. การส่งเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ใหม่ ยังไม่ได้ข้อสรุป เกณฑ์สิทธิ ถือว่ามีการจ่ายเงินเข้ากองทุนล่าช้า 2 วัน นายจ้างจึงต้องส่งเงินเพิ่ม = จำนวนเงิน x 5% วันที่ได้รับเงินเดือนจริงและ นายจ้างนำส่งเงินสะสม/สมทบ T T+3 29 30 28 กำหนดนำส่งเงินสะสม/สมทบ 25 วันที่มีสิทธิได้รับเงินเดือน • ข้อดี : สมาชิกได้ประโยชน์ทดแทนจากเงินที่นายจ้างส่งเงินสะสม/สมทบ • ให้ไม่เต็มสิทธิที่ควรได้รับ • ข้อเสีย : เกิดความยุ่งยากด้านระบบงานของนายจ้างและบริษัทจัดการ
4. การส่งเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ใหม่ (ต่อ) เกณฑ์ตามที่จ่ายจริง ถือว่ามีการจ่ายเงินตามเวลาที่กำหนด (ภายในวันที่ 3) จึงไม่ต้องจ่ายเงินเพิ่ม วันที่ได้รับเงินเดือนจริงและ นายจ้างนำส่งเงินสะสม/สมทบ T+3 T 29 30 1 2 3 25 วันที่มีสิทธิได้รับเงินเดือน 28 • ข้อดี : สมาชิก/FC ตรวจสอบจำนวนเงินง่าย • ข้อเสีย : สมาชิกไม่ได้ประโยชน์ทดแทน เท่ากับเป็นการลดประโยชน์ • ที่สมาชิกได้รับในปัจจุบัน
4. การส่งเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ปัจจุบัน ปัญหา หากนายจ้างประสบปัญหา ทางการเงิน ไม่สามารถ นำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนได้ จะต้องจ่ายเงินเพิ่ม ดังนั้น นายจ้างอาจเลือกที่จะเลิก กองทุน ซึ่งจะทำให้สมาชิก เสียประโยชน์ กฎหมาย ทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้าง นายจ้างต้องนำส่งเงินสะสม เงินสมทบเข้ากองทุนภายใน 3 วันทำการนับแต่วันที่มีการ จ่ายค่าจ้าง หากส่งล่าช้า ให้นายจ้างจ่ายเงินเพิ่มให้ กองทุนในอัตรา 5% ต่อเดือน 4.2 นายจ้างหยุดส่งเงินเข้ากองทุนชั่วคราว
4. การส่งเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ใหม่ นายจ้างสามารถหยุดส่งเงินสมทบได้ชั่วคราว หากได้รับมติเสียงข้างมากจากสมาชิกว่า นายจ้างประสบปัญหาทางการเงิน
4. การส่งเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ปัจจุบัน ปัญหา นายจ้างมักระบุในข้อบังคับ เกี่ยวกับอัตราเงินสมทบ ที่นายจ้างจะให้ก่อน ทำให้ลูกจ้างไม่สามารถ ออมได้มากกว่านายจ้าง กฎหมาย ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบ เข้ากองทุนตามจำนวนลูกจ้าง ในอัตราไม่ต่ำกว่าอัตรา เงินสะสมของลูกจ้าง 4.3 ลูกจ้างออมมากกว่านายจ้าง
4. การส่งเงินเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : ใหม่ เปิดให้นายทะเบียนอนุญาต ให้ลูกจ้างออมมากกว่านายจ้างได้
5. การจ่ายเงินให้สมาชิก : ปัจจุบัน มาตรา 23 บริษัทจัดการต้องจ่ายเงิน จากกองทุนให้แก่ลูกจ้างตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด ในข้อบังคับกองทุน โดยให้จ่าย รวมทั้งหมดครั้งเดียว ภายใน เวลาไม่เกิน 30 วันนับแต่ วันสิ้นสมาชิกภาพ • ปัญหา • บริษัทจัดการจ่ายเงินให้ไม่ทัน เนื่องจากรอข้อมูลจาก FC • สมาชิกไม่สามารถจัดการเงินดังกล่าวได้ + อาจนำเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ ทำให้มีเงิน ไม่เพียงพอแก่การยังชีพ ภายหลังเกษียณ • ไม่รองรับกรณีย้ายงาน • สมาชิกไม่สามารถถอนเงินได้ในกรณีที่จำเป็นต้องใช้เงิน
5. การจ่ายเงินให้สมาชิก : ใหม่ 1. กำหนดหน้าที่ในการจ่ายเงินให้นายทะเบียนสมาชิก โดยคณะกรรมการกองทุนมีหน้าที่ดูแลนายทะเบียนสมาชิกให้จ่ายเงิน แก่สมาชิกภายใน 30 วัน 2. สมาชิกสามารถโอนย้ายไปกองทุนอื่น (PVD, RMF, กบข.) โดยระหว่างรอการโอนย้ายสามารถคงเงินไว้ในกองทุนเดิมได้ระยะหนึ่ง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับข้อบังคับกองทุนด้วยว่า จะยินยอมหรือไม่ 3.การคงเงินไว้จนเกษียณอายุ 4. สมาชิกสามารถรับเงินครั้งเดียวหรือเป็นงวดได้
5. การจ่ายเงินให้สมาชิก : ใหม่ (ต่อ) • 4. สมาชิกสามารถถอนเงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสะสมได้ • เมื่อเกิดกรณี financial hardshipทั้งนี้ จะกำหนดไม่ให้ • กองทุนให้กู้ยืมเงินแก่สมาชิก • Financial hardshipได้แก่ ค่ารักษาพยาบาลตนเอง/คู่สมรส/ • บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ / ซื้อที่อยู่อาศัยหลังแรก / ค่าใช้จ่าย • เพื่อการศึกษา / เงินเพื่อไถ่ถอนบ้าน ทั้งนี้ สมาชิกต้องแสดงให้เห็น • ได้ว่ามีความจำเป็นต้องใช้เงินอย่างแท้จริง และไม่มีแหล่งเงินอื่น
6. การเลิกกองทุนและการชำระบัญชี: ปัจจุบัน • พ.ร.บ. • กองทุนเลิกเมื่อ • นายจ้างเลิกกิจการ • ที่ประชุมใหญ่มีมติให้เลิก • ข้อบังคับกองทุนกำหนด หรือ • นายทะเบียนสั่ง • การชำระบัญชีกองทุน • ให้นำบทบัญญัติตามประมวล • กฎหมายแพ่งมาใช้ ปัญหา 1. กรณีที่ประชุมใหญ่มีมติให้เลิกไปข้างหน้า ทำให้เกิดความ ได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างสมาชิกที่ลาออกจากกองทุน ไม่พร้อมกัน 2. การชำระบัญชีมีขั้นตอนยุ่งยากและก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นแก่กองทุน 3. การถอนตัวของนายจ้างจาก pooled fundต้องมีการชำระบัญชีเฉพาะส่วนนายจ้าง ซึ่ง ยุ่งยากและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
5. การเลิกกองทุนและการชำระบัญชี: ใหม่ 1. เพื่อไม่ให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างสมาชิก เมื่อที่ประชุมใหญ่มีมติให้เลิกกองทุนให้ถือว่าวันดังกล่าวเป็นวันเลิกกองทุน 2. ยกเลิกการนำบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้สำหรับการชำระบัญชีของกองทุน โดยนายทะเบียนจะกำหนดวิธีการ ให้สอดคล้องกับธุรกิจกองทุนรวม + ระบุให้ชัดเจนว่า เมื่อเลิกกองทุน ทรัพย์สินจะอยู่ที่ custodian + เมื่อชำระบัญชีเสร็จสิ้น ให้ผู้ชำระบัญชีจดทะเบียนเลิกกองทุน ต่อนายทะเบียน 3. กรณีนายจ้างใน pooled fundถอนตัวออกจากกองทุน ไม่ต้อง ให้มีการชำระบัญชีเฉพาะส่วน แต่ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับ สิ้นสมาชิกภาพหรือการโอนย้ายกองทุน
6. บทกำหนดโทษและมาตรการเยียวยา : ปัจจุบัน พ.ร.บ. กำหนดโทษปรับ FC ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ วิธีปฏิบัติงานทั่วไป เช่น การจดทะเบียน แต่งตั้ง/เปลี่ยนแปลง กรรมการกองทุนหรือ บริษัทจัดการ เป็นต้น ปัญหา 1. การกำหนดโทษปรับสำหรับวิธีปฏิบัติถือว่ารุนแรงเกินไป ในขณะที่การฉ้อฉล/ทุจริต ไม่มีการกำหนดโทษ 2. เมื่อมีการฟ้องร้องต่อศาล มักมีค่าใช้จ่ายไม่คุ้มกับการฟ้องร้องและใช้เวลานาน ทำให้สมาชิกไม่ฟ้องศาล และไม่ได้รับการชดใช้ ความเสียหาย
6. บทกำหนดโทษและมาตรการเยียวยา : ใหม่ ความรับผิดทางแพ่ง เป็นเรื่องที่เกิดความเสียหาย ต่อรายสมาชิกเฉพาะราย อาญา (ปรับ/จำคุก) ฉ้อฉล/ทุจริต อันจะทำให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินงาน ของกองทุนและประโยชน์ของ สมาชิกโดยรวม การไม่เปิดเผยข้อมูลที่สำคัญต่อการใช้สิทธิของสมาชิก มาตรการช่วยเหลือ ผู้เสียหาย เช่น อนุญาโตตุลาการ หรือ derivative suit
บทกำหนดโทษ : ใหม่ คณะกรรมการกองทุน แพ่ง - เมื่อออกจากกองทุนหรือเมื่อกองทุนเลิก สมาชิกได้รับเงิน ล่าช้าหรือไม่ครบ - กองทุนได้รับความเสียหายจากการลงทุนในทรัพย์สินที่มี conflictof interest - กองทุนได้รับความเสียหายจากการลงทุน โดยมี สาเหตุจากความละเลยในการติดตามให้บริษัทจัดการ ลงทุนให้เป็นไปตามที่ตกลงกันไว้ อาญา- กรณีฉ้อฉลทุจริต (ปรับ/ - การไม่เปิดเผยการดำเนินงานหรือการแก้ไขข้อบังคับ จำคุก) ให้สมาชิกทราบ
บทกำหนดโทษ : ใหม่ (ต่อ) บริษัทจัดการ / custodian/ นายทะเบียนสมาชิก / ผู้สอบบัญชี ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด มีโทษอาญาทุกกรณี
มาตรการเยียวยาความเสียหายสมาชิก 1.FCฟ้องบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรงเพื่อกองทุน 2. อนุญาโตตุลาการ 3.การรวมตัวกันของสมาชิกเพื่อฟ้อง FC (Derivative suit)
มาตรการเยียวยาความเสียหายสมาชิก (ต่อ) อนุญาโตตุลาการ เมื่อเกิดข้อพิพาทระหว่างสมาชิกและกองทุน หรือระหว่าง สมาชิกกับ FCและสมาชิกร้องขอให้นำเรื่องดังกล่าวเข้าสู่ กระบวนการยุติข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ FCต้องดำเนินการดังกล่าวตามที่สมาชิกร้องขอ โดย 1. มีผู้ทรงคุณวุฒิทำหน้าที่เป็นอนุญาโตตุลาการ เพื่อชี้ขาดข้อพิพาทที่เกิดขึ้น 2. คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการถือเป็นที่สุดและมีผลผูกพันคู่กรณีให้ต้องปฏิบัติตาม 3. หากผู้แพ้ไม่ปฏิบัติตามคำชี้ขาด ผู้ชนะก็สามารถฟ้องร้องต่อศาลให้บังคับตามคำชี้ขาดนั้น 4. ระยะเวลาพิจารณาและทำคำชี้ขาด : ภายใน 90 วันนับแต่วันที่คู่กรณี เลือกอนุญาโตตุลาการ
มาตรการเยียวยาความเสียหายสมาชิก (ต่อ) หากเกิดความเสียหายแก่กองทุนและ FC ไม่ได้ดำเนินการแก้ไขภายใน 90 วัน สมาชิกสามารถรวมตัวกันเพื่อฟ้อง FC (Derivative suit) ได้ 1. ผู้ใช้สิทธิ สมาชิก 5% ของสมาชิกทั้งหมด หรือ 5% ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน 2. ค่าใช้จ่าย กำหนดให้กองทุนรับผิดชอบค่าใช้จ่ายแทน ในกรณีที่ชนะคดี
4. การดำเนินการต่อไป • จัดทำ concept paper + แบบสอบถาม พ.ค. 46 • (สำหรับนายจ้าง + ผู้ประกอบธุรกิจ 6,000 ชุด • + เผยแพร่ใน web site) • บริษัทจัดการจะจัดส่งให้ FC หากไม่ได้รับอาจดูได้จาก www.sec.or.th 2. ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดส่งแบบสอบถามกลับ มิ.ย. 46 3. จัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากบุคคล ส.ค. 46 ที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการกองทุน คือ ตัวแทนของนายจ้างและลูกจ้าง ความคิดเห็นของท่านจะมีผลต่อการแก้ไข พ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โปรดช่วยกันแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ