150 likes | 248 Views
แผนสุขภาพเขตกลุ่มวัยทำงาน DM, HT, IHD CA Breast ,CA Cervix. Focal point สสจ .ราชบุรี. 23 กย 57. ผลลัพธ์ที่ต้องการ.
E N D
แผนสุขภาพเขตกลุ่มวัยทำงานDM, HT, IHD CA Breast ,CA Cervix Focal point สสจ.ราชบุรี 23 กย 57
ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ได้รับการคัดกรองค้นหาโรค กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มป่วยเข้าถึงบริการ ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และตรวจหาภาวะแทรกซ้อน2. พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ 3. บุคคล ชุมชน ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการลดปัจจัยเสี่ยงและลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง 4.สตรีกลุ่มวัยทำงานอายุ 30-60 ปี รายใหม่ ที่ไม่เคยตรวจ ได้รับการตรวจคัดกรอง Pap smear 5.ลดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสตรี
ผลการดำเนินงาน 9 เดือน ปี 2557 • คัดกรอง DM HT ในประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 15 ปีขึ้นไป (เกณฑ์ >90 %) • คัดกรอง DM เป้าหมาย 4,013,010 คน คัดกรอง 2,613,172 คน ( 65.1%) • พบกลุ่มเสี่ยง DM309,706 คน (11.9%) • คัดกรอง HT เป้าหมาย 3,970,311คน คัดกรอง 2,633,746 คน (66.3%) • พบกลุ่มเสี่ยง HT581,296 คน (22.1%) กลุ่มเสี่ยงไปเป็นผู้ป่วย (DM เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 5) / (HT เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10) กลุ่มเสี่ยง DM ปี 56 =214,100 คน ไปเป็นผู้ป่วยใหม่ปี 57=9,172 คน (4.3%) กลุ่มเสี่ยง HTปี 56 =503,832 คน ไปเป็นผู้ป่วยใหม่ปี 57= 16,254คน (3.2%) กลุ่มป่วย ผู้ป่วย DM=183,915 คน ตรวจ HbA1c=97,993 คน (53.3%) คุมน้ำตาลได้ดี =40,202 คน (41%) /เกณฑ์ >40% ตรวจตา 90,900 คน(49.4%) / เกณฑ์ > 60 % ผู้ป่วย HT =341,565คน คุมความดันได้ดี 156,696 คน(45.9%) /เกณฑ์>50% คลินิก NCD คุณภาพ รพ 66 แห่ง ประเมินตนเองผ่านเกณฑ์ 61 แห่ง ปรับปรุง 5 แห่ง สคร. สุ่มประเมิน 30 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 29 แห่ง (96.7%) /เกณฑ์ 70% • คัดกรอง CA cervix/ CA Breastเกณฑ์ 80 % • CA cervix เป้าหมาย 1,298,452 คน คัดกรอง 670,268 ราย (51.6%) • CA Breast เป้าหมาย 1,544,281 คน ตรวจด้วยตเอง 992,128 คน (64.3%)
ปัญหา/สาเหตุ DM, HT ,IHD
ปัญหา/สาเหตุ DM, HT ,IHD
ปัญหา/สาเหตุ มะเร็งเต้านมมะเร็งปากมดลูก • แหล่งข้อมูล ผู้รับผิดชอบ NCD
มาตรการ 1.เสริมสร้างศักยภาพในการจัดการเชิงระบบของผู้จัดการระบบ (System manager) และผู้จัดการรายกรณี (Case manager) 2.พัฒนาระบบข้อมูล NCD3.เร่งรัดการคัดกรองเชิงรุก 4.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมายและตามความสมัครใจ 5.พัฒนาคุณภาพระบบบริการ เพิ่มการเข้าถึงบริการของกลุ่มป่วย 6.เร่งรัดการตรวจคัดกรอง Pap smear และ เฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านม(BSE) ในกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุม 7.พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และ อสม.ในการตรวจเต้านมด้วยตนเองและปากมดลูกในการตรวจคัดกรอง การรักษา และการดูแลต่อเนื่อง 8.พัฒนาระบบฐานข้อมูลมะเร็งเต้านมมะเร็งปากมดลูกให้มีคุณภาพ • แหล่งข้อมูล ผู้รับผิดชอบ NCD
ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (>ร้อยละ 90)2. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40)3. ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) 4. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวาน เข้าจอประสาทตา (ร้อยละ 60) 5. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ(>ร้อยละ 70) 6. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 23 ต่อประชากรแสนคน) 7. ตรวจคัดกรอง Pap smear ในสตรีเป้าหมายอายุ 30-60 ปี รายใหม่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 8. สตรีอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือนอย่างมีคุณภาพร้อยละ 80