240 likes | 572 Views
6ส นวัตกรรม เรื่อง มอเตอร์มหัศจรรย์. งานเวชภัณฑ์กลาง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. งานมหกรรมคุณภาพกิจกรรม 7ส ครั้งที่ 2 เรื่อง ปรับกระบวนทัศน์พัฒนา 5ส วันที่ 28-29 เมษายน 2551. สมาชิกกลุ่ม 1. คุณ ธนพล นวลแก้ว (ประธานกลุ่ม) 2. คุณ กรรณิกา เมืองไพศาล (รองประธานกลุ่ม)
E N D
6ส นวัตกรรม เรื่อง มอเตอร์มหัศจรรย์ งานเวชภัณฑ์กลาง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ งานมหกรรมคุณภาพกิจกรรม 7ส ครั้งที่ 2 เรื่อง ปรับกระบวนทัศน์พัฒนา 5ส วันที่ 28-29 เมษายน 2551
สมาชิกกลุ่ม 1. คุณ ธนพล นวลแก้ว (ประธานกลุ่ม) 2. คุณ กรรณิกา เมืองไพศาล (รองประธานกลุ่ม) 3. คุณ อนันต์ นวลแก้ว (สมาชิกกลุ่ม) 4. คุณ ชาญไชย นิลอนันต์ (สมาชิกกลุ่ม) 5. คุณ อะหลีม หมัดอุหมาด (สมาชิกกลุ่ม) 6. คุณ นำโชค แก้วขุนจิตร (สมาชิกกลุ่ม) 7. คุณ วิเชียร แก้วกระจ่าง (สมาชิกกลุ่ม) 8. คุณ สมปอง เฉลิมบุญ (สมาชิกกลุ่ม) 9. คุณอวยพร มีคง (เลขากลุ่ม) ที่ปรึกษากลุ่ม 1. คุณ ณนุดา ศรีสุทธิพรสกุล 2. คุณ จรียา ภูมิเดช
ความเป็นมา งานเวชภัณฑ์กลางให้บริการชุดเครื่องมือแพทย์ที่ปราศจากเชื้อเพื่อนำไปใช้กับผู้ป่วย ซึ่งขั้นตอนในการนำชุดเครื่องมือแพทย์ออกจากเครื่องนึ่งหลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการทำให้ปราศจากเชื้อแล้วอาจทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ควบคุมเครื่องซึ่งเกิดจากความร้อนของเครื่องนึ่ง
สมาชิกกลุ่มจึงได้คิดจัดทำนวัตกรรมเรื่องตะขอวิเศษมาใช้แทนการสวมถุงมือกันความร้อนซึ่งสามารถนำมาใช้งานได้เป็นอย่างดีสมาชิกกลุ่มจึงได้คิดจัดทำนวัตกรรมเรื่องตะขอวิเศษมาใช้แทนการสวมถุงมือกันความร้อนซึ่งสามารถนำมาใช้งานได้เป็นอย่างดี
ความเป็นมา ต่อมาได้นำมอเตอร์ของเครื่องล้างที่หมดอายุการใช้งานมาพัฒนาเป็นอุปกรณ์นำชุดเครื่องมือแพทย์ออกจากเครื่องนึ่งฆ่าเชื้อ โดยไม่ต้องใช้แรงงานของเจ้าหน้าที่ในการดึง Loading Car ซึ่งมีน้ำหนักมาก ประมาณ 70 Cycle / วัน/เครื่อง
Plan พัฒนาการการนำชุดเครื่องแพทย์ออกจากเครื่องนึ่งฆ่าเชื้อ เริ่มจากสวมถุงมือป้องกันความร้อน แขนมีความเสี่ยงต่อการถูกความร้อนจากเครื่องนึ่งฆ่าเชื้อได้
ต่อมาใช้ตะขอวิเศษ ระยะมือห่างจากเครื่องนึ่ง สามารถป้องกันอันตรายจากการถูกความร้อนได้
ใช้สวิตซ์ควบคุมการนำของออกจากเครื่องนึ่งฆ่าเชื้อใช้สวิตซ์ควบคุมการนำของออกจากเครื่องนึ่งฆ่าเชื้อ ไม่ต้องใช้แรงงานของเจ้าหน้าที่ในการดึงLoading Car
วัตถุประสงค์ 1. ลดความเสี่ยงจากการถูกความร้อน ขณะนำชุดเครื่องมือแพทย์ออกจากเครื่องนึ่ง 2. เจ้าหน้าที่ไม่ต้องออกแรงในการดึง Loading Car
ตัวชี้วัด 1. ลดความเสี่ยงจากการถูกความร้อนขณะนำชุดเครื่องมือแพทย์ออกจากเครื่องนึ่งเหลือ 0 ครั้ง 2. เจ้าหน้าที่มีความสุขและคล่องตัวในการปฏิบัติงาน 100%
Do ขั้นตอนการทำมอเตอร์ลากของออกจากเครื่องนึ่ง ขั้นตอนการทำมอเตอร์ลากของออกจากเครื่องนึ่ง
1. นำมอเตอร์ เกียร์ทดรอบ สายพาน ของเครื่อง ล้างที่ ไม่ได้ใช้งาน มาประยุกต์เกียร์ทดรอบ เป็นที่ม้วนเก็บเชือก เครื่องล้างที่รอการจำหน่าย มอเตอร์ เกียร์ทดรอบ สายพาน
2. นำเหล็กแผ่นใช้เป็นฐานติดตั้งมอเตอร์ เกียร์ทดรอบ สายพาน ประกอบติดตั้งที่รถนึ่ง ขั้นตอนการทำมอเตอร์ลากของออกจากเครื่องนึ่ง เกียร์ทดรอบ มอเตอร์ สายพาน แผ่นเหล็ก ติดตั้งมอเตอร์บนแผ่นเหล็ก
3. ติดตั้งฐานม้วนเก็บเชือก
4. นำเชือกยาว 3 เมตร มาติดตั้ง ติดกับที่ม้วนเก็บ เชือก ส่วนอีกปลายข้างหนึ่งติดตะขอ ใช้สำหรับ ลากของออกจากเครื่องนึ่ง
5. เดินสายไฟ ระหว่างมอเตอร์ ไปยังสวิตซ์ ปิด-เปิด ในการควบคุม การนำของออกจาก เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อ ขั้นตอนการทำมอเตอร์ลากของออกจากเครื่องนึ่ง
รูปรถเมื่อประกอบเสร็จแล้วรูปรถเมื่อประกอบเสร็จแล้ว รูปรถนึ่งที่ติดตั้งเรียบร้อยแล้ว สวิตซ์ เปิด-ปิด ที่ม้วนเก็บเชือก มอเตอร์ สายพาน เกียร์ทดรอบ ฐานม้วนเก็บเชือก
Check แบบสอบถามการใช้มอเตอร์มหัศจรรย์ ด้านความสะดวกคล่องตัวและความสุขในการใช้งาน ระดับคะแนน 1. น้อยที่สุด 2. น้อย 3. ปานกลาง 4. มาก 5. มากที่สุด
Check ตารางการใช้มอเตอร์นำของนึ่งออกจากเครื่องนึ่งไอน้ำ เดือน มีนาคม 2551
ผล การใช้มอเตอร์นำของออกจากเครื่องนึ่งฆ่าเชื้อ - ประจำเดือน พฤศจิกายน 2550- มีนาคม 2551 จำนวนที่ใช้ 882 ครั้ง - เจ้าหน้าที่ปลอดภัยไม่ถูกความร้อนของเครื่องนึ่ง ฆ่าเชื้อ 0 ครั้ง
Action เจ้าหน้าที่ใช้มอเตอร์มหัศจรรย์ ทุกครั้ง เมื่อนำรถออกจาก เครื่องนึ่ง
ค่าใช้จ่าย • ซึ่งนำมอเตอร์เกียร์ทดรอบ สายพาน ของเครื่องล้าง • ที่ไม่ได้ใช้งาน บวกกับอุปกรณ์ สายไฟ สวิตซ์ • ปิด-เปิด ค่าทำกลึง ที่เก็บเชือก รวมทั้งสิ้นเป็น • จำนวนเงิน 1,500 บาท • ถ้าซื้อเกียร์ทดรอบ มอเตอร์ สายพาน อุปกรณ์ • สายไฟ และสวิตซ์ ปิด-เปิด ทั้งหมดใหม่ รวมถึงค่า • ทำกลึงจะเสียค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเป็นจำนวน 6,500 บาท • สรุป สามารถประหยัดเงินได้ 5,000 บาท
CSSD สวัสดีค่ะ