550 likes | 3.5k Views
การจำหน่ายหุ้นกู้. จำหน่ายในราคาตามมูลค่า จำหน่ายในราคาสูงกว่ามูลค่า ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ จำหน่ายในราคาต่ำกว่ามูลค่า ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้. รายการบันทึกบัญชี. การจำหน่ายในราคาตามมูลค่า เดบิต เงินสด / เงินฝากธนาคาร xx เครดิต หุ้นกู้ xx. รายการบันทึกบัญชี.
E N D
การจำหน่ายหุ้นกู้ จำหน่ายในราคาตามมูลค่า จำหน่ายในราคาสูงกว่ามูลค่า ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ จำหน่ายในราคาต่ำกว่ามูลค่า ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้
รายการบันทึกบัญชี การจำหน่ายในราคาตามมูลค่า เดบิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx เครดิต หุ้นกู้ xx
รายการบันทึกบัญชี การจำหน่ายในราคาสูงกว่ามูลค่า เดบิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx เครดิต หุ้นกู้ xx ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ xx
รายการบันทึกบัญชี การจำหน่ายในราคาต่ำกว่ามูลค่า เดบิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ xx เครดิต หุ้นกู้ xx
การคำนวณราคาจำหน่ายหุ้นกู้การคำนวณราคาจำหน่ายหุ้นกู้ กรณีไม่ได้กำหนดราคาขายไว้ และทราบอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ราคาขายหุ้นกู้ มูลค่าปัจจุบันราคามูลค่า xx บวก มูลค่าปัจจุบันของดอกเบี้ย xx ราคาขายหุ้นกู้ xx
มูลค่าปัจจุบันหุ้นกู้มูลค่าปัจจุบันหุ้นกู้ ราคาตามมูลค่าหุ้นกู้ xx คูณ ค่าจากตาราง PVIF (i,n) xx มูลค่าปัจจุบันหุ้นกู้ xx i = อัตราดอกเบี้ยแท้จริง n = อายุหุ้นกู้
มูลค่าปัจจุบันดอกเบี้ยมูลค่าปัจจุบันดอกเบี้ย ดอกเบี้ยหุ้นกู้ xx คูณ ค่าจากตาราง PVIFA (i,n) xx มูลค่าปัจจุบันของดอกเบี้ย xx i = อัตราดอกเบี้ยแท้จริง n = อายุหุ้นกู้
การไถ่ถอนหุ้นกู้ ไถ่ถอนเมื่อครบกำหนด ไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
การไถ่ถอนก่อนครบกำหนดการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด ขั้นตอนการไถ่ถอน • ตัดส่วนเกิน /ส่วนลด นับจากวันที่ตัดส่วนเกินหรือส่วนลดครั้งหลังสุดถึงวันที่ไถ่ถอน • ปรับปรุงดอกเบี้ยจ่าย นับจากวันที่จ่ายดอกเบี้ยรั้งหลังสุดถึงวันที่ไถ่ถอน • บันทึกการไถ่ถอนหุ้นกู้
การบันทึกไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนครบกำหนดการบันทึกไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนครบกำหนด เดบิต หุ้นกู้ xx ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้(คงเหลือ) xx ขาดทุนจากการไถ่ถอนหุ้นกู้ xx (กรณีขาดทุน) เครดิต เงินสด xx ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ xx กำไรจากการไถ่ถอนหุ้นกู้ xx (กรณีกำไร)
ตัวอย่างที่ 1กรณีจำหน่ายหุ้นกู้ในราคาตามมูลค่า ในวันที่ 1 สิงหาคม 25x1 กิจการแห่งหนึ่งนำหุ้นกู้ 12% ราคาตามมูลค่า 5,000 บาท อายุ 3 ปี ออกจำหน่าย หุ้นกู้ลงวันที่ 1 สิงหาคม 25x1 กำหนดการจ่ายดอกเบี้ยทุกวันที่ 31 กรกฎาคม โดยจำหน่ายหุ้นกู้ในราคาตามมูลค่า 5,000 บาท ไถ่ถอนหุ้นกู้เมื่อครบกำหนด
การบันทึกบัญชี บันทึกรายการเกี่ยวกับหุ้นกู้
การบันทึกบัญชี บันทึกรายการเกี่ยวกับหุ้นกู้
การบันทึกบัญชี บันทึกรายการเกี่ยวกับหุ้นกู้
ตัวอย่างที่ 2จำหน่ายหุ้นกู้ในราคาต่ำกว่าราคาตามมูลค่า ในวันที่ 1 สิงหาคม 25x1 กิจการแห่งหนึ่งนำหุ้นกู้ 12% ราคาตามมูลค่า 5,000 บาท อายุ 3 ปีออกจำหน่ายหุ้นกู้ลงวันที่ 1 สิงหาคม 25x1กำหนดการจ่ายดอกเบี้ยทุกวันที่ 31 กรกฎาคม อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงในท้องตลาดเป็นร้อยละ14 จำหน่ายหุ้นกู้ได้ในราคา 4,767.83 บาท
ราคาจำหน่ายหุ้นกู้ ราคาตามมูลค่าหุ้นกู้ 5,000 บาท อัตราดอกเบี้ยแท้จริง 14% ดอกเบี้ยหุ้นกู้ = 5,000x12% = 600 บาท มูลค่าปัจจุบันของหุ้นกู้ 5,000 บาท (5,000×0.67497) 3,374.85 บาท (เปิดตารางPVIF n = 3 , i = 14% มีค่าเท่ากับ 0.67497 ) มูลค่าปัจจุบันของดอกเบี้ย 600 บาท (600×2.32163) 1,392.98บาท (เปิดตารางPVIFA n = 3 , I = 14% มีค่าเท่ากับ 2.32163) ดังนั้นราคาขายหุ้นกู้ (=3,374.85+1,392.98) 4,767.83บาท
ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ ราคาตามมูลค่า 5,000.00 บาท หัก ราคาขายหุ้นกู้ 4,767.83 บาท ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ 232.17บาท
ตารางแสดงการตัดส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ตารางแสดงการตัดส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้
ตัวอย่างที่ 3จำหน่ายหุ้นกู้ในราคาสูงกว่าราคาตามมูลค่า ในวันที่ 1 สิงหาคม 25x1กิจการแห่งหนึ่งนำหุ้นกู้ 12% ราคาตามมูลค่า 5,000 บาท อายุ 3 ปีออกจำหน่ายหุ้นกู้ลงวันที่ 1 สิงหาคม 25x1 กำหนดการจ่ายดอกเบี้ยทุกวันที่ 31 กรกฎาคม อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงในท้องตลาดเป็นร้อยละ 10 จำหน่ายหุ้นกู้ได้ในราคา 5,248.66 บาท
ราคาจำหน่ายหุ้นกู้ ราคาตามมูลค่าหุ้นกู้ 5,000 บาท อัตราดอกเบี้ยแท้จริง 14% ดอกเบี้ยหุ้นกู้ = 5,000x12% = 600 บาท มูลค่าปัจจุบันของหุ้นกู้ 5,000 บาท (5,000×0.75131) 3,756.55 บาท (เปิดตารางPVIF n = 3 , i = 10% มีค่าเท่ากับ0.75131 ) มูลค่าปัจจุบันของดอกเบี้ย 600 บาท (600×2.48685) 1,492.11บาท (เปิดตารางPVIFA n = 3 , I = 10% มีค่าเท่ากับ2.48685) ดังนั้นราคาขายหุ้นกู้ (=3,374.85+1,392.98) 5,248.66บาท
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ ราคาตามมูลค่า 5,000.00 บาท หัก ราคาขายหุ้นกู้ 5,248.66 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ 248.66บาท
ตารางแสดงการตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ตารางแสดงการตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้
หุ้นกู้แปลงสภาพ เป็นหุ้นที่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นทุน หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการแปลงสภาพหุ้นกู้การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการแปลงสภาพหุ้นกู้ ขั้นตอนที่ 1ตัดส่วนเกิน หรือส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ และค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้รอตัดบัญชีนับจากวันที่ตัดครั้งหลังสุดถึงวันที่แปลงสภาพ • เดบิต ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ xx เครดิต ดอกเบี้ยจ่าย xx • เดบิต ดอกเบี้ยจ่าย xx เครดิต ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ xx • เดบิต ค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้ xx เครดิต ค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้รอการตัดบัญชี xx
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการแปลงสภาพหุ้นกู้การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการแปลงสภาพหุ้นกู้ ขั้นตอนที่ 2 ปิดบัญชีหุ้นกู้แปลงสภาพพร้อมส่วนเกินหรือส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ และค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้รอการตัดบัญชี ยอดคงเหลือ
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการแปลงสภาพหุ้นกู้การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการแปลงสภาพหุ้นกู้
หุ้นกู้ที่ออกพร้อมตราสารสิทธิซื้อหุ้นทุนหุ้นกู้ที่ออกพร้อมตราสารสิทธิซื้อหุ้นทุน เป็นหุ้นกู้ที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นกู้สามารถซื้อหุ้นทุนของบริษัทที่ออกหุ้นกู้ได้ตามจำนวนและราคาที่ตกลงกัน โดยผู้ถือตราสารสิทธิซื้อหุ้นทุนต้องนำตราสารนั้นมาแสดงสิทธิซื้อหุ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
การบันทึกบัญชี กรณีที่ 1 ถือว่าตราสารสิทธิไม่มีราคา ให้บันทึกราคาขายเป็นราคาหุ้นกู้เพียงอย่างเดียว รายการบันทึกบัญชีเป็นดังนี้
การบันทึกบัญชี กรณีที่ 2 ถือว่าตราสารแสดงสิทธิซื้อหุ้นทุนมีราคา ดังนั้นเงินสดรับจากากรขายทั้งหมดให้เฉลี่ยเป็นของหุ้นกู้ส่วนหนึ่งและเป็นของตราสารแสดงสิทธิซื้อหุ้นทุนอีกส่วนหนึ่ง การแบ่งเงินสดรับจากขายให้ใช้ราคาตลาดของหุ้นกู้และตราสารแสดงสิทธิซื้อหุ้น ณ วันที่ขายเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
การบันทึกบัญชี กรณีที่ 2
ตัวอย่างที่ 4 ในวันที่ 1 มีนาคม 25x1 บริษัท แม่สาย จำกัดออกหุ้นกู้ 6% จำนวน 500 หุ้น ราคาตามมูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท จำหน่ายในราคาหุ้นละ 1,200 บาท ในการจำหน่ายหุ้นกู้บริษัทได้ออกตราสารแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญให้ 1 ใบ ต่อหุ้นกู้ 1 หุ้น โดยมีเงื่อนไข ตราสารสิทธิ 1 ใบ ซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้นในราคาหุ้นละ 14 บาท อายุหุ้นกู้ 5 ปี กำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุกวันที่ 1 มีนาคม และ1 กันยายน หุ้นสามัญของบริษัทมีราคาตามมูลค่าหุ้นละ 10 บาท ณ วันที่จำหน่ายหุ้นกู้พร้อมตราสารแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญ หุ้นกู้มีราคาตลาด หุ้นละ 1,210 บาท หุ้นสามัญมีราคาตลาดหุ้นละ 15 บาท และตราสารสิทธิซื้อหุ้นสามัญมีราคาใบละ 4 บาท ผู้ถือหุ้นกู้ต้องแสดงสิทธิซื้อหุ้นภายในวันที่ 1 กันยายน 25x1 ปรากฏว่ามีผู้นำตราสารสิทธิมาซื้อหุ้นสามัญจำนวน 400 หุ้น ส่วนที่เหลือไม่มีผู้นำมาใช้และตราสารสิทธิหมดอายุไป
การคำนวณราคาขายหุ้นกู้การคำนวณราคาขายหุ้นกู้ ราคาตลาดหุ้นกู้ (500x1,210) 605,000 ราคาตลาดตราสารสิทธิ(500x4) 2,000 ราคาตลาดรวม 607,000 ราคาขายหุ้นกู้รวมสิทธิ (500x1,200)600,000 บาท เป็นราคาหุ้นกู้ (600,000x605/607) = 598,023 เป็นราคาสิทธิ (600,000x2/607) = 1,977