1 / 3

98.95

ตัวชี้วัดที่ 7 สารพิษตกค้างในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี 2546 - 2548. ผลการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี 2546-2548 พบว่า อาหารที่สุ่มตรวจมีความปลอดภัยจากสารปนเปื้อนร้อยละ 83.92 , 98.82 และ 98.95 ตามลำดับ ทั้งนี้ในปี 2548 ไม่พบสารปนเปื้อนประเภท สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว ในจังหวัดยโสธร.

oleg-morse
Download Presentation

98.95

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวชี้วัดที่ 7 สารพิษตกค้างในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี 2546 - 2548 ผลการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี 2546-2548 พบว่า อาหารที่สุ่มตรวจมีความปลอดภัยจากสารปนเปื้อนร้อยละ 83.92 , 98.82 และ 98.95 ตามลำดับ ทั้งนี้ในปี 2548 ไม่พบสารปนเปื้อนประเภท สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว ในจังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ ร้อยละของชนิดอาหารสดที่ตรวจไม่พบสารปนเปื้อน บอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน ยาฆ่าแมลง รวม 2546 78.16 96.43 86.38 97.31 68.09 83.92 2547 99.23 98.54 97.76 98.01 98.32 98.82 2548 100 99.82 100 98.76 97.62 98.95 ที่มา:สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

  2. ตัวชี้วัดที่ 31 อัตราส่วนมารดาตายและอัตราทารกตายต่อการเกิดมีชีพ 1000 คน จังหวัดยโสธร ปี พ.ศ. 2542 - 2548 (มิถุนายน 2548) จากข้อมูลอัตราส่วนมารดาตาย และทารก พบว่า สุขภาพอนามัย ของประชาชนชาวจังหวัดยโสธร มีแนวโน้มดีขึ้น โดยเฉพาะอัตรา มารดาตายไม่พบเลยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน และอัตรา ทารกตายลดลงจากปี พ.ศ.2547 9.32 ต่อ 1,000 เหลือ 5.35 ต่อ 1,000 ในปี พ.ศ. 2548 รายการข้อมูล 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 อัตราส่วนมารดาตาย/1,000 0.29 0 0 0 0 0.20 0 อัตราทารกตาย/1,000 5.02 7.44 5.79 9.49 7.09 9.32 5.35 ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธรหมายเหตุ : ข้อมูลปี 2548 (มค. – มิย.)

  3. 2547 2548 ร้อยละ ที่มา:สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ตัวชี้วัดที่ 32 ความพอใจประชาชนต่อมาตรฐานการให้บริการ ของสถานพยาบาลราชการ จังหวัดยโสธร ปี 2547-2548 ผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน พบว่า ในภาพรวมประชาชนมีระดับความพึงพอใจ ต่อการบริการเพิ่มขึ้น ปีงบประมาณ 2547 คิดเป็น ร้อยละ 71.04 ปีงบประมาณ 2548 คิดเป็นร้อยละ 84.53 ( เป้าหมายร้อยละ 80 ) โดยปีงบประมาณ 2547 อำเภอที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุดคือ อำเภอค้อวัง รองลงมาคือ อำเภอทรายมูล , อำเภอคำเขื่อนแก้ว และอำเภอกุดชุม ตามลำดับ ส่วนในปีงบประมาณ 2548 อำเภอที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุดคืออำเภอเลิงนกทา รองลงมาคืออำเภอทรายมูล,อำเภอค้อวังและอำเภอเมือง ตามลำดับ ร้อยละของความพึงพอใจแยกตามอำเภอ ปีงบประมาณ ภาพรวม เมือง ทรายมูล กุดชุม คำเขื่อนแก้ว ป่าติ้ว มหาชนะชัย ค้อวัง เลิงนกทา ไทยเจริญ 2547 70.1 86.9 78.96 68.4 83.9 76.3 92.4 52.6 66.7 71.04 85.72 87.36 83.46 76.18 83.51 80.60 86.47 89.75 81.78 84.53 2548

More Related