280 likes | 412 Views
การประชุม/สัมมนา เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ด้านการปราบปราม 26 มีนาคม 2557 ห้องประชุมสำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3. หัวข้อสัมมนา. มาตรการป้องกันและปราบปรามการหลีกเลี่ยงภาษีของโรงงานสุราชุมชน. มาตรการป้องกันและปราบปรามการเลี่ยงภาษี ของโรงงานสุราชุมชน. การลักลอบนำสุราที่ไม่เสียภาษีออกจากโรงงานสุรา
E N D
การประชุม/สัมมนาเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ด้านการปราบปราม26 มีนาคม 2557ห้องประชุมสำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3
หัวข้อสัมมนา มาตรการป้องกันและปราบปรามการหลีกเลี่ยงภาษีของโรงงานสุราชุมชน
มาตรการป้องกันและปราบปรามการเลี่ยงภาษีของโรงงานสุราชุมชนมาตรการป้องกันและปราบปรามการเลี่ยงภาษีของโรงงานสุราชุมชน การลักลอบนำสุราที่ไม่เสียภาษีออกจากโรงงานสุรา - ใส่ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก (ขวดน้ำอัดลม) - ใส่ขวดแต่ไม่ปิดฉลาก - ใส่ขวดแต่ปิดฉลากปลอม - ปิดแสตมป์ไม่เต็มดวง แล้วรับซื้อแสตมป์กลับคืนมาใช้อีก
การดำเนินคดีกรณีสุราขาวปลอมการดำเนินคดีกรณีสุราขาวปลอม แสตมป์ใช้แล้วใช้อีก ม.44 (พ.ร.บ.สุราฯ : ผู้ใดมีแสตมป์สุราซึ่งรู้อยู่ว่าเป็นแสตมป์ปลอมหรือมีแสตมป์สุราที่ใช้แล้วไว้ในครอบครองเพื่อใช้อีกหรือเพื่อการค้าหรือนำแสตมป์สุราที่ใช้แล้วมาใช้อีกมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินห้าพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ) ใช้แสตมป์ปลอม ม.257 (ป.อาญา)
การดำเนินคดีกรณีสุราขาวปลอมการดำเนินคดีกรณีสุราขาวปลอม น้ำสุราที่ไม่เสียภาษี ม. 33, ม. 34 (พ.ร.บ.สุราฯ) ฉลากปลอม หรือใช้ฉลากของโรงงานใหญ่ ม.110 (พ.ร.บ.เครื่องหมายการค้าฯ)
แสตมป์ปลอม, ใช้แล้วใช้อีก พ.ร.บ.สุรา พ.ศ.2493 ม.44 - มีแสตมป์สุราซึ่งรู้ว่าเป็นแสตมป์ปลอมไว้ในครอบครอง - นำแสตมป์สุราที่ใช้แล้วมาใช้อีก โทษ ม.44 จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ประมวลกฎหมายอาญา ม.257 ใช้แสตมป์รัฐบาลซึ่งใช้ในการจัดเก็บภาษีอากรปลอม โทษ จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6 พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ฉลากปลอม (เครื่องหมายการค้าปลอม) พ.ร.บ.เครื่องหมายการค้า พ.ศ.2534 ม.110 - มีไว้เพื่อจำหน่ายซึ่งสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าปลอม โทษ จำคุกไม่เกิน 4 ปี ปรับไม่เกิน 400,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
น้ำสุราในขวด พ.ร.บ.สุรา พ.ศ.2493 -ม.33 ขายหรือมีไว้เพื่อขายสุราที่ต้องปิดแสตมป์สุราแต่มิได้ปิดแสตมป์สุราฯ มีโทษ จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 4 เท่าของค่าภาษี แต่ไม่น้อยกว่าลิตรละ 100 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ -ม.34 ซื้อหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสุราที่ต้องปิดแสตมป์สุราแต่มิได้ปิดแสตมป์สุราฯ มีโทษ ปรับไม่เกิน 2 เท่า ของค่าภาษี แต่ไม่น้อยกว่าลิตรละ 50 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรการป้องกันและปราบปรามการเลี่ยงภาษีของโรงงานสุราชุมชนมาตรการป้องกันและปราบปรามการเลี่ยงภาษีของโรงงานสุราชุมชน การลักลอบนำสุราที่ไม่เสียภาษีออกจากโรงงานสุรา - ใส่ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก (ขวดน้ำอัดลม) - ใส่ขวดแต่ไม่ปิดฉลาก - ใส่ขวดแต่ปิดฉลากปลอม - ปิดแสตมป์ไม่เต็มดวง แล้วรับซื้อแสตมป์กลับคืนมาใช้อีก
การดำเนินคดีกับโรงงานการดำเนินคดีกับโรงงาน ตรวจพบการบรรจุสุราในถุงพลาสติก หรือบรรจุในภาชนะที่ต่ำกว่า 20 ลิตร ผิดตาม ม.5 ทวิ “ทำสุราโดยไม่ปฏิบัติตามวิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด” บทกำหนดโทษ ม.32 ทวิ ปรับไม่เกิน 5,000 บาท
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตให้ทำสุราฯ พ.ศ.2546 ลว.22 ม.ค.46 ข้อ 17 “ผู้ได้รับอนุญาตต้องปิดแสตมป์สุราที่ภาชนะบรรจุสุราทันทีที่นำสุราบรรจุในภาชนะเสร็จ ทั้งนี้ภายใต้การควบคุมของเจ้าหน้าที่” ระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยการควบคุมสถานที่ทำสุราชุมชน พ.ศ.2549 ลว.19 ต.ค.49 ข้อ 8 “......ห้ามมิให้บรรจุน้ำสุราในถุงพลาสติก หรือภาชนะอื่นใดที่มีขนาดบรรจุต่ำกว่า 20 ลิตร”
การปิดแสตมป์สุราไม่เต็มดวงการปิดแสตมป์สุราไม่เต็มดวง ผิดตาม ม.9 วรรค 2 “ปิดแสตมป์สุราไม่เป็นไปตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง มีโทษ ม.37 ปรับไม่เกิน 2,000 บาท กฎกระทรวงฉบับที่ 54(พ.ศ.2516) ข้อ 4 “การปิดแสตมป์สุราให้ใช้กาวทาหลังดวงแสตมป์ให้เต็มดวง แล้วปิดคร่อมปากภาชนะบรรจุสุราอย่างแนบแน่นสนิทจนไม่สามารถแกะลอกได้ และอยู่ในสภาพที่ดวงแสตมป์จะต้องถูกทำลายทันทีเมื่อภาชนะบรรจุสุรานั้น .....................”
นำสุราที่ไม่เสียภาษีออกจากโรงงานมาขายนำสุราที่ไม่เสียภาษีออกจากโรงงานมาขาย ผู้ซื้อ ผิดตาม ม.34 “ซื้อสุราที่ต้องปิดแสตมป์สุราแต่มิได้ปิดแสตมป์สุรา ผู้ขาย ผิดตาม - ม.33 “ขายสุราที่รู้ว่าต้องปิดแสตมป์สุราแต่มิได้ปิดแสตมป์สุรา - ม.13 “ขนสุราที่ยังไม่ได้เสียภาษีโดยถูกต้องออกจากโรงงานสุราโดยไม่ได้รับอนุญาต” (โทษ จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับ 4 เท่าของค่าภาษีแต่ไม่น้อยกว่า 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ) นอกจากนั้นแล้วยังมีความผิดตามเงื่อนไข สัญญา ฯ อีกด้วย
บัญชีประจำวันและงบเดือนบัญชีประจำวันและงบเดือน ม.43 วรรค 1 “ไม่ทำบัญชีแสดงจำนวนสุรา” หรือ “ทำบัญชีไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง” (โทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท) ม.43 วรรค 2 “ยื่นบัญชีงบเดือนแสดงจำนวนสุราอันเป็นเท็จ (โทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ) มาตรา 27 “ผู้ได้รับอนุญาตให้ทำสุราตามมาตรา 5 วรรค 1 .....จะต้องทำบัญชีประจำวันและบัญชีงบเดือนแสดงจำนวนสุรา......”
การเขียนบันทึกจับกุมคดีสุรา ม.5 ทวิ พฤติกรรมในการจับกุม “ได้ทำการตรวจสถานที่ทำสุราชุมชนของ หจก.AAA โดยมีนาย..............เป็นเจ้าของและผู้ดูแลโรงงาน ผลการตรวจสอบพบสุรากลั่นบรรจุ..ขวดขนาด 0.625 ลิตร ไม่ปิดฉลาก โดยบรรจุใส่ลังกระดาษเบียร์ตราลีโอ จำนวน.........ขวด จึงแจ้งให้นาย........ทราบว่าการกระทำดังกล่าวเป็นการฝ่าฝืนระเบียบกรมสรรพสามิตว่าด้วยการควบคุมสถานที่ทำสุรา....... ข้อ 8 และเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.สุรา พ.ศ.2493 จึงได้ทำการจับกุม โดยแจ้งข้อกล่าวหาว่า.. ทำสุราโดยไม่ปฏิบัติตามวิธีการเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด
การตรวจพิสูจน์ของกลางคดีสุรา ม.33, ม.34 ได้ทำการตรวจพิสูจน์ของกลางตามบัญชีหมายเลข.............แล้ว ปรากฏว่าเป็นสุรากลั่นชนิดสุราขาว แรงแอลกอฮอล์..........ดีกรี ที่มิชอบด้วยกฎหมายทั้งสิ้น โดยมิได้ปิดแสตมป์สุรา ของกลางเป็นสุรากลั่นบรรจุขวด/ถัง/ถุงพลาสติก ขนาดบรรจุ....ลิตร จำนวน................น้ำสุราจำนวน.........ลิตร ต้องเสียภาษีสุรา(ปิดแสตมป์สุรา) เป็นเงิน........................บาท
ภาษีสุรา มาตรา 7 ผู้ได้รับอนุญาตให้ทำสุรา.......ต้องเสียภาษีสำหรับสุราที่ทำได้ก่อนขนสุราออกจากโรงงานตามอัตราที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง การเสียภาษีให้กระทำโดยการปิดแสตมป์สุราที่ภาชนะบรรจุสุราในความควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่......................................
END ปัญหาข้อซักถาม (Q&A)