1 / 46

นายเดชา หาชา

นายเดชา หาชา. ครูฝึกป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รุ่นที่ 1 / 2547. 0895696869. ประวัติการศึกษาอบรม. ครูฝึกคนสู้ไฟ. ครูฝึกและเป็นกู้ชีพ,กู้ภัย otos ของประเทศ. ครูฝึกสารเคมี,วัตถุอันตราย. ครูฝึกกู้ภัยทางน้ำ. ครูฝึกแผ่นดินไหว,ตึกถล่ม. ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตราย.

Download Presentation

นายเดชา หาชา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นายเดชา หาชา ครูฝึกป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รุ่นที่ 1/2547 0895696869

  2. ประวัติการศึกษาอบรม ครูฝึกคนสู้ไฟ

  3. ครูฝึกและเป็นกู้ชีพ,กู้ภัย otos ของประเทศ

  4. ครูฝึกสารเคมี,วัตถุอันตรายครูฝึกสารเคมี,วัตถุอันตราย

  5. ครูฝึกกู้ภัยทางน้ำ

  6. ครูฝึกแผ่นดินไหว,ตึกถล่มครูฝึกแผ่นดินไหว,ตึกถล่ม

  7. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตรายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตราย

  8. คำจำกัดความ • วัตถุอันตราย • ยุทธภัณฑ์ • สารเคมี • สารเคมีอันตราย

  9. ลักษณะชี้บ่งของสารเคมีลักษณะชี้บ่งของสารเคมี • ชื่อสารเคมี , ชื่อทางการค้า • ประเภทสารเคมี (UN class) • หมายเลขสหประชาชาติ (UN number) • ชนิดของสารเคมี (CAS number) • ความรุนแรงของสารอันตราย (NFPA) • ข้อปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน (Guide Number)

  10. การจำแนกวัตถุอันตราย • วัตถุอันตราย หมายถึง สาร สิ่งของ วัตถุ หรือวัสดุใดๆ ที่อาจเกิดอันตรายต่อสุขภาพ และความปลอดภัยของคน สัตว์ ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อม • จำแนกเป็น 9 ประเภทตามเอกสารคำแนะนำของ องค์การสหประชาชาติ ดังนี้

  11. ประเภทที่1 วัตถุระเบิด (Explosives)ของแข็ง หรือของเหลว หรือสารผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีด้วยตัวเองทำให้เกิดก๊าซที่มีความดันและความร้อนอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการระเบิดสร้างความเสียหายบริเวณโดยรอบได้ และให้รวมถึงสารที่ใช้ทำดอกไม้เพลิง และสิ่งของที่ระเบิดได้ด้วย

  12. ประเภทที่ 2 ก๊าซ (Gases) • สารที่อุณหภูมิ 50 oC มีความดันไอมากกว่า 300 Kpa • หรือมีสภาพเป็นก๊าซอย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 20oC และมีความดัน 101.3 Kpa

  13. 2.1 ก๊าซไวไฟ หมายถึง ก๊าซที่อุณหภูมิ 20 oC และมีความดัน101.3 Kpa สามารถติดไฟได้เมื่อผสมกับอากาศ 13% หรือต่ำกว่า โดยปริมาตร หรือมีช่วงกว้างที่สามารถติดไฟได้ 12% ขึ้นไปเมื่อผสมกับอากาศโดยไม่คำนึงถึงความเข้มข้นต่ำสุดของการผสม

  14. 2.2 ก๊าซไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษก๊าซที่ขณะขนส่งมีความดันไม่น้อยกว่า 280 Kpa ที่ อุณหภูมิ 20 oC หรืออยู่ในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ำ

  15. 2.3ก๊าซพิษหมายถึงก๊าซที่มี2.3ก๊าซพิษหมายถึงก๊าซที่มี คุณสมบัติเป็นที่ทราบกันทั่วไป หรือได้มีการสรุปว่าเป็นพิษหรือ กัดกร่อนหรือเป็นอันตรายต่อ สุขภาพ

  16. ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ • ของเหลวหรือของเหลวผสมหรือของเหลวที่มีสารแขวนลอยผสม ที่มีจุดวาบไม่เกิน 60.5 oC กรณีทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด • หรือไม่เกิน65.6oC กรณีทดสอบด้วยวิธีถ้วยเปิด • ไอของของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟ เมื่อมีแหล่งประกายไฟ • ของเหลวที่ขณะขนส่งถูกทำให้มีอุณหภูมิเท่ากับหรือมากกว่าจุดวาบไฟของเหลวนั้น

  17. ประเภทที่ 4ของแข็งไวไฟ ของแข็งที่ระหว่างทำการขนส่งสามารถที่จะติดไฟได้ง่าย หรืออาจทำให้เกิดการลุกไหม้ขึ้นได้จากการเสียดสี

  18. 4.2 สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้เอง สารที่มีแนวโน้มจะเกิดความร้อนขึ้นได้เองในสภาวะการขนส่งตามปกติหรือเกิดความร้อนสูงขึ้นได้เมื่อสัมผัสกับอากาศและมีแนวโน้มที่จะลุกไหม้ได้

  19. 4.3 สารที่สัมผัสกับน้ำแล้วทำให้เกิดก๊าซไวไฟ สารที่ทำปฏิกิริยากับน้ำแล้วมีแนวโน้มที่จะเกิดการติดไฟได้เอง หรือทำให้เกิดก๊าซไวไฟในปริมาณที่เป็นอันตราย

  20. ประเภทที่ 5 5.1 สารออกซิไดส์ สารที่ตัวของสารเองอาจไม่ติดไฟโดยทั่วไปจะปล่อยออกซิเจนหรือเป็นเหตุหรือช่วยให้วัตถุอื่นเกิดการลุกไหม้

  21. ประเภทที่ 6 6.1 สารพิษ หมายถึง สารที่มี แนวโน้มจะทำให้เสียชีวิต หรือ บาดเจ็บรุนแรง หรือเป็นอันตราย ต่อสุขภาพหากกลืน หรือสูดดม หรือสัมผัสทางผิวหนัง

  22. 6.2 สารติดเชื้อ สารที่ทราบว่าหรือคาดว่ามี เชื้อโรคปนอยู่ด้วย เชื้อโรค คือ จุลินทรีย์ (แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ เชื้อรา) หรือจุลินทรีย์ที่เกิดขึ้นใหม่ หรือเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ซึ่งรู้กันโดยทั่วไปหรือมีข้อสรุปที่เชื่อถือได้ว่าเป็นเหตุให้เกิดโรคต่อกับมนุษย์หรือสัตว์

  23. ประเภทที่ 7 วัตถุกัมมันตรังสีวัตถุที่สามารถแผ่รังสีที่มองไม่เห็น ซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกาย

  24. ประเภทที่ 8 สารกัดกร่อน สารซึ่งโดยปฏิกิริยาเคมีจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอย่างรุนแรง หรือกรณีของการรั่วจะเกิด ความเสียหาย หรือทำลายสิ่งของอื่น หรือยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง หรือเกิดอันตรายอื่นได้ด้วย

  25. ประเภทที่ 9 วัตถุอันตรายเบ็ดเตล็ดสารและสิ่งของที่ในขณะขนส่งมี ความเป็นอันตราย ซึ่งไม่จัดอยู่ใน ประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 8

  26. Explosive ระเบิด หลีกเลี่ยงความร้อน การชน เสียดสี สปาร์ค

  27. Xn HarmfulXi Irritant เลี่ยงการสัมผัสผิวหนัง และไอ สารนี้อาจมีผล ต่อพันธุกรรม

  28. T+ Very ToxicT Toxic เลี่ยงการสัมผัสผิวหนัง และไอ สารนี้อาจเป็นสารก่อมะเร็ง อาจทำให้เป็นหมัน

  29. C Corrosive เลี่ยงการสัมผัสผิวหนัง ตา อย่าสูดหายใจเข้าไป

  30. O Oxidizing เลี่ยงการสัมผัสสารไวไฟ เสี่ยงต่อการติดไฟ ดับไฟได้ยาก

  31. F+ Extremely FlammableF Easily Flammable เก็บห่างจากแหล่งความร้อน ลูกไฟ และเปลวไฟ

  32. NDangerous for the environment ห้ามเททิ้งลงดิน ทิ้งในที่เก็บที่เหมาะสม

  33. Fire Hazards Flash points 4 - < 23 o C 3 - < 38 o C 2 - < 93 o C 1 - > 93 o C 0 - will not burn Health Hazards 4 - Deadly 3 - Extreme danger 2 - Hazardous 1 - Slightly hazardous 0 - Normal material 4 2 3 W Specific hazardous Reactivity OXY oxidizer ACID Acid ALC Alkaline COR Corrosive W No water 4 - May detonate 3 - Shock & heat may detonate 2 - Violent chemical 1 - Unstable if heated 0 - Stable NFPA National Fire Protection Association

  34. ฉลาก NFPA 704 เป็นระบบของ National Fire Protection Agency ประเทศสหรัฐอเมริกาได้จัดระดับความรุนแรงของวัตถุอันตรายโดยใช้สีและตัวเลขเป็นสื่อ บนฉลาก สีแดง = อันตรายจากการเกิดเพลิงไหม้ สีน้ำเงิน = อันตรายต่อสุขภาพ สีเหลือง = อันตรายต่อการเกิดปฏิกิริยาทางเคมี สีขาว = อันตรายด้านอื่น (เป็นลักษณะเฉพาะของเคมี . ชนิดนั้น เช่น ห้ามใช้กับน้ำ) 4 = อันตรายสูงสุด 3 = อันตรายรองจาก 4 2 = อันตรายรองจาก 3 4 = ไม่อันตรายในด้านนั้น ๆ

  35. เอกสารกำกับการขนส่ง • ชื่อที่อยู่ผู้ส่ง • ชื่อที่อยู่ผู้รับ • ชื่อบริษัทที่ขนส่ง • ประเภทและความเป็นอันตราย • หมายเลขสหประชาชาติ (UN/NAnumber) • ปริมาณการขนส่ง • ข้อมูลการระงับเหตุเบื้องต้นและเบอร์โทรศัพท์ ฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง

  36. อันตรายจากสารเคมี • ร่างกาย • สวัสดิภาพ • องค์กร • ประเทศ

  37. การเข้าสู่ร่างกายและผลกระทบการเข้าสู่ร่างกายและผลกระทบ • หายใจ • ดูดซึมผ่านผิวหนัง หรือ ตา • การกินเข้าไป • การฉีดเข้าร่างกาย

  38. การจัดการภัยจากสารเคมีการจัดการภัยจากสารเคมี • ก่อนเกิดภัย • ขณะเกิดภัย • หลังเกิดภัย

  39. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี • เจ้าหน้าที่ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • ผู้เชี่ยวชาญด้านสารเคมี • พนักงานฝ่ายปกครองและตำรวจ • อปพร. • ประชาชน

  40. การปฏิบัติเมื่อประสบเหตุการปฏิบัติเมื่อประสบเหตุ 1. อยู่ให้ห่างที่เกิดเหตุ เหนือลม เมื่อไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นเคมีชนิดใด 2. พิจารณารายละเอียดที่เกี่ยวข้อง - ประเภทของรถบรรทุกและภาชนะบรรจุสารเคมี - สัญลักษณ์ หรือป้ายแสดงชนิดของสารเคมี - ชื่อของบริษัทที่ขนส่ง และหมายเลขโทรศัพท์ - สภาพของภัย ร่องรอยหลักฐาน 3. กั้นเขตอันตรายเบื้องต้น 75 เมตร

  41. การแจ้งเหตุฉุกเฉิน • ผู้รับผิดชอบพื้นที่ 199,191,1669 • กรมควบคุมมลพิษ 1650 • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1784

  42. คำถามหรือข้อเสนอแนะ

  43. ขอบคุณ

More Related