1 / 41

แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน วิชามานุษยวิทยา

แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน วิชามานุษยวิทยา. แนวคิดพื้นฐานในการศึกษาทางมานุษยวิทยา. 1) สังคมดั้งเดิม (Primitive society) Robert Redfield ให้คำจำกัดความสังคมดั้งเดิมว่าเป็น . - สังคมขนาดเล็ก ความสัมพันธ์ใกล้ชิด ความรู้สึกร่วมในกลุ่มสูง .

omer
Download Presentation

แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน วิชามานุษยวิทยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานในแนวคิดทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน วิชามานุษยวิทยา

  2. แนวคิดพื้นฐานในการศึกษาทางมานุษยวิทยาแนวคิดพื้นฐานในการศึกษาทางมานุษยวิทยา 1) สังคมดั้งเดิม (Primitive society) Robert Redfield ให้คำจำกัดความสังคมดั้งเดิมว่าเป็น - สังคมขนาดเล็กความสัมพันธ์ใกล้ชิดความรู้สึกร่วมในกลุ่มสูง - เป็นความสัมพันธ์ที่มีพื้นฐานอยู่บนระบบเครือญาติ - ระดับเทคโนโลยีต่ำ - ไม่มีภาษาเขียน - มีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตเฉพาะตัวต่างจากกลุ่มอื่น

  3. เผ่า Tsadays ใน เกาะมินดาเนา ฟิลิปปินส์

  4. ครอบครัวชนพื้นเมือง Aborigines ในประเทศออสเตรเลีย

  5. สังคมประเพณี(จารีต)นิยม (Traditional society) - ยึดติดอยู่กับขนบธรรมเนียมประเพณีอาจรับเทคโนโลยีใหม่เข้าไป มีภาษาเขียนแต่ยังเป็นสังคมขนาดเล็ก มีวิถีชีวิตคล้ายคลึงกัน มี วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ค่อนข้างเด่นชัดมีความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน

  6.   2)  วัฒนธรรม (Culture) ได้แก่ผลผลิตของการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เพื่อสนองตอบความต้องการดำรงชีวิตอยู่ • การถือวัฒนธรรมตนเองเป็นใหญ่ (Ethnocentricism) Egocentric Ethnocentric Anthropomorphic

  7. วัฒนธรรมสัมพัทธ์ (Cultural Relativism) - วัฒนธรรมของทุกสังคมมีเหตุผลมีความถูกต้องเหมาะสมในตัวของ มันเองเพราะสอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของสังคมที่สร้าง วัฒนธรรมนั้นขึ้นมาไม่มีวัฒนธรรมใดดี / เลวถูก / ผิด - การศึกษาวัฒนธรรมของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งต้องทำความเข้าใจจาก มุมมองของคนกลุ่มนั้นเองไม่เอาความรู้สึกของตนเองเข้าไปตัดสิน

  8. ความงามในสังคมต่างๆ

  9. 3)การศึกษาแบบองค์รวม (Holism) ได้แก่ การทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่ศึกษาจากทุกแง่ทุกมุม อธิบายพฤติกรรมและวัฒนธรรมจากหลายๆด้านประกอบกัน ไม่มองเพียงด้านเดียว

  10. ทฤษฎีพื้นฐานในการศึกษาทฤษฎีพื้นฐานในการศึกษา 1. ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory) 2. ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) 3. ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่นิยม (Structural - Functionalism)  

  11. ทฤษฎีวิวัฒนาการ • วิวัฒนาการทางสังคม (Social Darwinism) การนำแนวคิดวิวัฒนาการสิ่งมีชีวิตของ Charles Darwin มาใช้อธิบาย วิวัฒนาการของสังคมว่ามีการเลือกสรรสังคมที่พัฒนา ได้เหมาะสมจะเจริญเร็วกว่า

  12. วิวัฒนาการสายเดี่ยว (Unilinear Evolution) Psychic Unity of Mankind James Frazer Science วิทยาศาสตร์ Religion ศาสนา Magic ไสยศาสตร์ Edward B. Tylor Civilization ยุคอารยธรรม Barbarism ยุคอนารยชน Savagery ยุคคนป่า

  13. วิวัฒนาการหลายสาย (Multi-linear Evolution) วิวัฒนาการของขวานหิน

  14. ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) - มีจุดกำเนิดหรือศูนย์รวมของวัฒนธรรมร่วมกัน - มีการติดต่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน / การอพยพเคลื่อนย้ายประชากร

  15. - เขตวัฒนธรรม Cultural Area - โลกาภิวัตน์ Globalization

  16. ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่นิยม(Structural – Functionalism) - อธิบายการทำงานของสังคม - สังคมทำงานเป็นระบบเหมือนสิ่งมีชีวิต - พฤติกรรมมนุษย์มีแบบแผน - แบ่งพฤติกรรมเป็นระบบทำงานประสานกันเกิดเป็นโครงสร้าง • หน้าที่ของพฤติกรรมต่างๆคือการรักษาสมดุลของสังคมดังนั้น • พฤติกรรมทุกอย่างในสังคมจึงมีหน้าที่สนองตอบความต้องการ • ของมนุษย์อย่างใดอย่างหนึ่ง

  17. วิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยาวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา 1.ใช้วิธีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์สังคม (Social Science) - สังเกตการณ์ / ตั้งสมมุติฐาน / พิสูจน์ทดลอง / ตั้งเป็นทฤษฎี - ภววิสัย (Objectivity) ศึกษาอย่างเป็นกลางไม่ใช้อคติตัดสิน ตรงกันข้ามกับอัตวิสัย (Subjectivity)

  18. 2.เน้นการศึกษาภาคสนาม (Fieldwork) - การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม (Participant Observation) - การสัมภาษณ์ 3.การศึกษาแบบเปรียบเทียบ - หาแบบแผนความแตกต่าง / ความเหมือน • ให้ความสำคัญกับสังคมวัฒนธรรมอื่นโดยเฉพาะสังคมที่ • ไม่ใช่สังคมตะวันตก

More Related