190 likes | 636 Views
จากการเป็นภาคีเขตการค้าเสรีอาเซียน. สิทธิประโยชน์ทางภาษี. ASEAN Free Trade Area (AFTA). ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ประธานคณะกรรมการกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ประธานคณะกรรมการองค์กรการค้าระหว่างประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. ASEAN Free Trade Area : AFTA 10 Member Countries.
E N D
จากการเป็นภาคีเขตการค้าเสรีอาเซียนจากการเป็นภาคีเขตการค้าเสรีอาเซียน สิทธิประโยชน์ทางภาษี ASEAN Free Trade Area (AFTA) ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ประธานคณะกรรมการกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ประธานคณะกรรมการองค์กรการค้าระหว่างประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ASEAN Free Trade Area : AFTA 10 Member Countries
ASEAN = Association of Southeast Asian Nationsสมาคมอาเซียน -ก่อตั้งเมื่อ 8 สิงหาคม 2510 - มีสมาชิก 10 ประเทศได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดเนเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน เวียดนาม พม่า กัมพูชา และลาว (CLMV) - เป็นการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ร่วมมือและช่วยเหลือในด้านสังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และการบริหาร เพื่อเสริมสร้าง ฐานความเจริญรุ่งเรืองและสันติสุขของประชาชาติในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้มากกว่า 520 ล้านคน
AFTA (อาฟต้า) หรือ เขตการค้าเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area) 1 • จัดตั้งในปี 2535 เพื่อเปิดตลาดการค้าระหว่าง ASEAN • มีเป้าหมายให้ลดอากรขาเข้าระหว่างประเทศสมาชิกเหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี 2546 (Year 2003) • ยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษีหรือที่เป็นอุปสรรคทางการค้า (Non-Tariff Barrier: NTB) • รวมตลาดการค้าของประเทศสมาชิกทั้งหมด เป็นการขยายตลาดอย่างมหาศาล (520 ล้านคน)
AFTA (อาฟต้า) หรือ เขตการค้าเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area) 2 • มีการร่วมมือในด้านอุตสาหกรรมเกษตร คมนาคม บริการ และการสื่อสาร • มีโครงการ AICO (ASEAN Industrial Co-operative Scheme) ให้มีการลงทุนระหว่างประเทศคู่ค้า • มีโครงการ AISP (ASEAN Integrated System of Preference) ให้กับประเทศ CLMV ในการส่งออก • ขณะนี้ ตลาดส่งออกของไทยเรียงตามลำดับคือ (1) AFTA (2)สหรัฐอเมริกา และ (3)EU
กลไกระงับข้อพิพาทของอาเซียน( Dispute Settlement Mechanism) • จัดตั้งกลไก ( พฤศจิกายน 2539 เชียงใหม่ ) • ให้หารือระหว่างประเทศสมาชิกคู่กรณี เพื่อระงับข้อพิพาท ที่เกิดจากการไม่ปฎิบัติตามพันธกรณี ให้สามารถเรียกร้องค่าเสียหาย หรือขึ้นภาษีตอบโต้ได้ MY รถยนต์ PH ปิโตรเคมี VN มอเตอร์ไซด์
การลดอากรขาเข้าระหว่างประเทศสมาชิก ASEAN • ให้รายการสินค้าร้อยละ 90 มีอัตราอากรขาเข้าร้อยละ 0-5(ประเทศไทยมีทั้งหมด ~ 9126 รายการAHTN) • 2546 ใช้อัตราอากรร้อยละ 0 (5476 รายการหรือ 60%) • 2553 ใช้อัตราอากรร้อยละ 0 ทั้งหมด เพื่อรวมเป็นประเทศเขตการค้าเดียวเช่นเดียวกับเขตการค้าเสรีอื่น NAFTA และ EU เป็นต้น • 2563 เปิดเสรีทุกรูปแบบ (Hanoi Action Plan)
Average Tariff Rate of AFTA 20% Liberalization Non-Tariff Barrier: NTB Thailand 6.02% (2002) 5% CEPT 0% 2007 1993 1995 1997 1999 2001 2003 2005
เงื่อนไขที่ใช้ร่วมกับการให้ลดภาษี0-5%เงื่อนไขที่ใช้ร่วมกับการให้ลดภาษี0-5% 1. ได้แหล่งกำเนิดสินค้าของประเทศสมาชิก 1.1 ASEAN Content 40% 1.2 Cumulative Content 20% 40% 2. ให้สิทธิพิเศษ AISP แก่ประเทศ CLMV (ASEAN Integrated System of Preferences)
เกณฑ์การได้แหล่งกำเนิดสินค้า ASEAN (AFTA) 1. Wholly Obtained (WO) หรือ ข้อ 3 ใช้กับสินค้าเกษตรและประมง 2. Substantial Transformation หรือ ข้อ 3 ใช้กับสิ่งทอ 3. ASEAN Content 40% ของ FOB ใช้กับสินค้าที่เหลือทั้งหมด
การคำนวณค่า % ASEAN Content Originating Materialsวัตถุดิบในประเทศอาเซียน Production Cost ต้นทุนการผลิต Other Costs ค่าใช้จ่าย ต้นทุนอื่นๆ SUM = ASEAN Content ส่วนที่ใช้ในประเทศอาเซียน % ASEAN Content = Local Content x 100 (40) F.O.B. Price หรือ = (F.O.B Price - Non-ASEAN Content) x 100 F.O.B. Price Non-ASEAN Contentis calculated from the summation of C.I.F prices of non-ASEAN originating materials
การให้สิทธิพิเศษ AISP (ลดอากรขาเข้า) ให้กับ CLMV • ASEAN Integrated System of Preferences: AISP • ไทยจะให้เฉพาะประเทศและตามรายการที่ขอมาเท่านั้น • ใช้อัตราอากรขาเข้า 0% หรือเท่ากับ CEPT Rate คือ 5% • ต้องได้แหล่งกำเนิด (ASEAN Origin) สินค้าเกษตรและ • ปศุสัตว์ต้องเป็นแบบ Wholly Obtained ถ้าใช้วัตถุดิบจาก • ประเทศไทยมาผลิตสินค้าด้วยจะใช้ Content ไม่น้อยกว่า 60% • ให้นำเข้าได้ในปริมาณ 2 เท่าของยอดนำเข้าปีที่แล้ว • ไทยสงวนสิทธิที่จะยกเลิกเมื่อใดก็ได้
อุตสาหกรรมที่มีโอกาสประสบความสำเร็จในการขยายตลาดASEANอุตสาหกรรมที่มีโอกาสประสบความสำเร็จในการขยายตลาดASEAN • อุตสาหกรรมที่มีความสามารถแข่งขันได้ทัดเทียมกัน • อุตสาหกรรมที่สามารถแข่งขันและส่งออกได้มากขึ้น • อุตสาหกรรมที่ยังไม่สามารถแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศได้ดีพอ
อุตสาหกรรมที่สามารถแข่งขันและส่งออกได้มากขึ้นอุตสาหกรรมที่สามารถแข่งขันและส่งออกได้มากขึ้น • เฟอร์นิเจอร์ อาหาร สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม ยานยนต์ เซรามิค รองเท้า หนังและผลิตภัณฑ์หนัง พลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ และเคมีภัณฑ์บางประเภท • มีจุดแข็งที่การแข่งขันสูงและมีระดับการพัฒนาจนมีความพร้อมอยู่ก่อนแล้ว • มีแรงงานฝีมือและผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้ดี • จุดอ่อนคือ ค่าแรงงานของไทยที่สูงกว่าประเทศอื่น
อุตสาหกรรมที่มีความสามารถในการแข่งขันทัดเทียมกันอุตสาหกรรมที่มีความสามารถในการแข่งขันทัดเทียมกัน • สินค้ากลุ่มนี้มีคุณภาพใกล้เคียงกัน ราคาจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการแข่งขัน • ประเทศที่มีวัตถุดิบต้นทางหรือทรัพยากรธรรมชาติของตนเองและผลิตสินค้าได้ในราคาต้นทุนต่ำกว่า จะได้เปรียบ • สินค้าส่งออกได้แก่ปูนซีเมนต์ แก้วและกระจก เยื่อและกระดาษ ชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ ยา ไม้อัด ไม้ยางและวัสดุแผ่น • สินค้านำเข้าได้แก่กระจก เฟอร์นิเจอร์หวาย และผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์บางชนิด
อุตสาหกรรมที่ยังไม่สามารถแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศได้ดีพออุตสาหกรรมที่ยังไม่สามารถแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศได้ดีพอ • สินค้ากลุ่มนี้ไม่มีวัตถุดิบต้นทางหรือขาดการพัฒนาด้านเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตและขีดความสามารถในการแข่งขัน • ไฟฟ้าและอิเล็คทรอนิคส์ น้ำมันปาล์ม เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์เครื่องจักรกล เหล็กและเหล็กกล้า • อาจใช้อัตราอากรขาเข้าสูงเพื่อปกป้องสินค้าที่ผลิตในประเทศ • แก้ไขระยะสั้น ลดอากรขาเข้าวัตถุดิบต้นทางของอุตสาหกรรม • แก้ไขระยะยาว รัฐสนับสนุน พัฒนาเทคโนโลยี เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน
การเตรียมตัวเชิงรุกของไทยในการแข่งขันทางการค้าการเตรียมตัวเชิงรุกของไทยในการแข่งขันทางการค้า • มีนโยบาย "วัตถุดิบมีอัตราอากรต่ำกว่าสินค้าสำเร็จรูป" • มีกฎหมายป้องกันการทุ่มตลาด และการตอบโต้จะต้องมี • ความรวดเร็วและเห็นผลทันที • มีคณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมการส่งออก • จัดตั้งศูนย์บริการหรือห้องปฏิบัติการมาตรฐานกลาง • (Central Lab) ของภาคอุตสาหกรรม • มีการร่วมมือประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน • อย่างใกล้ชิด