1 / 52

ขั้นตอนที่ 3( การรวบรวมข้อมูล) ละเอียด สุขจิตต์ ครู คศ. 3

การอบรม โครงการสร้างสำนึกพลเมือง ( Project Citizen ) สำหรับสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 14 กันยายน 2553 ณ โรงแรมท๊อปแลนด์ จังหวัดพิษณุโลก. ขั้นตอนที่ 3( การรวบรวมข้อมูล) ละเอียด สุขจิตต์ ครู คศ. 3 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง. ขั้นตอนที่ 3

oriana
Download Presentation

ขั้นตอนที่ 3( การรวบรวมข้อมูล) ละเอียด สุขจิตต์ ครู คศ. 3

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรมโครงการสร้างสำนึกพลเมือง ( Project Citizen )สำหรับสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการวันที่ 14 กันยายน 2553ณ โรงแรมท๊อปแลนด์ จังหวัดพิษณุโลก ขั้นตอนที่ 3(การรวบรวมข้อมูล) ละเอียด สุขจิตต์ ครู คศ.3 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง

  2. ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา ที่จะศึกษาในชั้นเรียน

  3. วัตถุประสงค์ของขั้นตอนที่ 3 - เพื่อตัดสินใจเลือกแหล่งข้อมูลที่จะหาข้อมูล เพิ่มเติม - เพื่อกำหนดแนวทางในการหาข้อมูลจาก แหล่งข้อมูล

  4. การอภิปรายในชั้นเรียน - การระบุแหล่งข้อมูล ข. คำแนะนำ - ทบทวนแนวทางการได้รับและบันทึกข้อมูล ค. การมอบหมายงาน - การไปค้นคว้าถึงปัญหาในชุมชนของนักเรียน

  5. ก. การอภิปรายในชั้นเรียน นักเรียนร่วมกัน ระบุแหล่งข้อมูลที่จะสามารถให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ต้องการศึกษา - ทีมเจ้าของปัญหานำเสนอแหล่งข้อมูล (1) ห้องสมุด (2) สำนักงานหนังสือพิมพ์ (3) ศาสตราจารย์ และนักวิชาการ (4) ทนาย หรือผู้พิพากษา (5) องค์กรชุมชน และกลุ่มผลประโยชน์ (6) สำนักงานด้านนิติบัญญัติ (7) องค์กรบริหาร (8) เครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

  6. 2. สมาชิกในห้องร่วมกันอภิปราย - ความสอดคล้องของแหล่งข้อมูลกับปัญหา - ความเป็นไปได้ที่จะได้รับข้อมูลจากแหล่งข้อมูล - ความถูกต้องของข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งข้อมูล - การเพิ่มเติมแหล่งข้อมูล 3. สมาชิกร่วมกันเลือกแหล่งข้อมูล 4. การแบ่งงานในการไปเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล

  7. ข. คำแนะนำ การได้รับและบันทึกข้อมูล 1. ไปที่ห้องสมุดหรือที่อื่นๆ ที่อาจหาข้อมูลได้(ใช้แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลจากสาธารณะ ในหน้า 17-18) 2. การหาข้อมูลทางโทรศัพท์(ใช้แบบฟอร์ม บันทึกข้อมูลทางจดหมายหรือสัมภาษณ์ หน้า 19 และ 20) 3. การนัดหมาย และสัมภาษณ์บุคคลต่างๆ (ใช้แบบฟอร์มหน้า บันทึกข้อมูลทางจดหมายหรือหน้าสัมภาษณ์ หน้า 19 และ 20) - การเขียนจดหมายเพื่อขอข้อมูล

  8. 4. การเขียนจดหมายเพื่อขอข้อมูล ( ใช้แบบฟอร์มบันทึกเอกสารหน้า 19-20 ) ผู้ได้รับมอบหมาย ศึกษา/ทำความเข้าใจแบบฟอร์มที่จะใช้เก็บข้อมูล - ได้ข้อมูลตรงประเด็นปัญหาที่กำลังศึกษา - ได้ข้อมูลถูกต้องตามความเป็นจริง - ได้ข้อมูลครบถ้วนประเด็นปัญหาที่กำลังศึกษา

  9. การเตรียมตัวของผู้ไปเก็บข้อมูลการเตรียมตัวของผู้ไปเก็บข้อมูล - เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล - แบบฟอร์ม , ปากกา ดินสอ , เครื่องบันทึกเสียง , กล้องบันทึกภาพ - การนัดหมายแหล่งข้อมูล - เวลา สถานที่ - การเดินทางไปยังแหล่งข้อมูล - พาหนะ - เวลาที่ใช้เดินทาง เวลาออกเดินทางไป-กลับ - การเตรียม คำพูด(แนะนำตัว,นัดหมาย ฯลฯ) - การเตรียมการแต่งกาย - การเตรียมของที่ระลึก

  10. การแนะนำตนเอง สวัสดีค่ะ/ครับ ดิฉัน/กระผม ชื่อ.....................เป็นนักเรียนในความดูแลของ คุณครู..................เรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่..............โรงเรียน........................ พวกเรากำลังศึกษาปัญหาต่าง ๆ ในชุมชนของท้องถิ่น การรับมือของรัฐบาลและการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งปัญหาที่ชั้นเรียนกำลังศึกษาอยู่คือ............ (อธิบายอย่างย่อ).....ดิฉัน/กระผมได้รับมอบหมายให้หาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา......... อยากรบกวนถามว่าคุณสะดวกหรือไม่ หากจะตอบคำถามสัก 2-3 ข้อหรือจะให้ดิฉันโทรมาเวลาอื่น หรือมีบุคลากรท่านอื่นที่ดิฉัน/กระผมจะติดต่อหรือเปล่าคะ/ครับ แล้วคุณพอจะมีข้อมูลเกี่ยวกับปัญหานี้ที่พอจะให้พวกเราไหมคะ/ครับ(ถ้าใช้โทรศัพท์ให้เตรียมที่อยู่แจ้งผู้สัมภาษณ์ด้วย) แ

  11. กรณีตัวอย่างการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษาในชั้นเรียน“ปัญหาตัดไม้ทำลายป่าในพื้นที่จังหวัดลำปาง”กรณีตัวอย่างการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษาในชั้นเรียน“ปัญหาตัดไม้ทำลายป่าในพื้นที่จังหวัดลำปาง” นโยบายสาธารณะ “ 1 โรงเรียน 1 สวนป่า” โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง

  12. ห้องสมุด หนังสือ นิวัติ เรียงพานิช (2542). การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์ลินครอน์ โปโมรชั่น. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช2540. (2546). (พิมพ์ครั้งที่ 5).กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์สยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด. วรทิพย์ มีมาก(2548). สาระการเรียนรู้พื้นฐานหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนิน ชีวิตในสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. วิจิตร บุณยะโหตระ(2521). ชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์ธรรมสาร. วิชัย เทียนน้อย( 2544) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อักษรวัฒนา. สวัสดิ์ โนนสูง (2537). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม . (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ .

  13. สำนักงานหนังสือพิมพ์ สำนักหนังสือพิมพ์ ข่าวการจับกุมผู้กระทำความผิดตัดไม้.(2549, เมษายน 10 -16).คนเมืองเหนือ. หน้า 1. ข่าวการจับกุมผู้กระทำความผิดตัดไม้. (2549,เมษายน 7 -13). ลานนาโฟสต์. หน้า 1. ภาพและข่าวการระบายน้ำออกจากถนนพหลโยธิน ย่านนาก่วม เขตเทศบาลนคร ลำปาง ที่เกิดจากการเกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่. (2549, มิถุนายน 5 -11). คนเมืองเหนือ. หน้า 1. ภาพและข่าวน้ำท่วมในเขตเทศบาลนครลำปาง. (2548,ตุลาคม 10 – 16). ลำปางนิวส์. หน้า 1. ภาพและข่าวเจ้าหน้าที่ป่าไม้เข้าจับกุมโรงงานแปรรูปไม้ที่ไม่ได้รับอนุญาต. (2549,สิงหาคม 14 -20). แมงมุม. หน้า 1.

  14. หน่วยงาน องค์กร เอกสารเผยแพร่ ตำรวจภูธรจังหวัดลำปาง,สถานี.(2549).การตรวจจับการกระทำความผิดต่อพรบ.ป่าไม้ใน เขตพื้นที่จังหวัดลำปาง ประจำเดือนมิถุนายน 2549. ที่ทำการปกครองจังหวัดลำปาง.(2549). พื้นที่ป่าไม้ของจังหวัดลำปางถูกบุกรุกเข้าครอบครอง. เทศบาลนครลำปาง.(2548) สภาพความเสียหายจากการเกิดน้ำท่วมในช่วงเดือนกันยายน 2548. บริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สาขาลำปาง,สำนัก. (2549). พื้นที่ป่าไม้จังหวัดลำปาง. ศาลจังหวัดลำปาง.(2549). สถิติคดีความผิดต่อ พ.ร.บ. ป่าไม้ ป่าสงวนแห่งชาติ ที่มาสู่ศาล จังหวัดลำปาง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง เดือนมิถุนายน 2549. ส่วนอนุรักษ์และป้องกันทรัพยากร สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สาขาลำปาง.(2549). ข้อมูลการจับกุมผู้กระทำความผิดตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ ปีงบประมาณ 2549( ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2548 ถึง มิถุนายน 2549 ).

  15. เครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เครือข่ายข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ นโยบายป่าไม้แห่งชาติ [Online].(2549, ,กรกฎาคม 12). http://www.forwest.go.th/ efd./ policy/ policy_t...htm. นโยบายของรัฐบาล[Online].(2549, พฤศจิกายน 6). http://www.thaigov.go.th/Download/289_ คำแถลงนโยบาย.pdf

  16. สื่อบันทึกภาพ( CD-Rom) เขลางค์นคร เคเบิลทีวี จำกัด, บริษัท(ผู้สร้าง).(2548). ภาพและข่าวการ เกิดอุทกภัยของจังหวัดลำปาง ในปีพ.ศ. 2548.

  17. การสัมภาษณ์บุคคล ชาตรี ทาไชยวงศ์.(2549, กรกฎาคม 14). บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ลำปางนิวส์. สัมภาษณ์. ชาตรี ยศสมแสน.( 2549, กรกฎาคม 17). บรรณาธิการหนังสือพิมพ์คนเมืองเหนือ. สัมภาษณ์. ประชา ตันจริยานนท์. ( 2549, กรกฎาคม 23). ผู้อำนวยการสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สาขาลำปาง. สัมภาษณ์. ไพรเวศ ศรีบุตรภา. ( 2549, กรกฎาคม 23). นักวิชาการป่าไม้ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ที่ 13 สาขาลำปาง. สัมภาษณ์. วิชัย พรหมศิลป์.(2549, กรกฎาคม 25) ผู้จัดการบริษัทเขลางค์นคร เคเบิลทีวี จำกัด. สัมภาษณ์. สาโรจน์ เกษมถาวรศิลป์.(2549, สิงหาคม 17). ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดลำปาง. สัมภาษณ์.

  18. 2)การนัดหมายทบทวน วิเคราะห์ และประเมินผลข้อมูลที่ได้ทำการรวบรวม เพื่อเตรียมทำรายงานของกลุ่ม - แต่ละกลุ่มรวบรวม สรุปประเด็นของข้อมูลที่ไปเก็บได้จากแต่ละแหล่งข้อมูล ว่าสะท้อนปัญหาที่กำหนดไว้มากน้อยเพียงใด

  19. - แต่ละกลุ่มนำเสนอข้อค้นพบต่อสมาชิกทั้งหมด - สมาชิกร่วมกันวิเคราะห์และประเมินผลข้อมูล - ได้ข้อมูลตรงประเด็นปัญหาที่กำลังศึกษา - ได้ข้อมูลถูกต้องตามความเป็นจริง - ได้ข้อมูลครบถ้วนประเด็นปัญหาที่กำลังศึกษา - สมาชิกร่วมกันคัดเลือกและสรุปข้อมูลที่ควรนำไปใช้ ยืนยันปัญหา - หาข้อมูลเพิ่มเติม - กำหนดแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

  20. - ร่วมกันจัดทำร่างการนำเสนอข้อมูลยืนยันปัญหาแต่ละ ประเด็น ในขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาแฟ้มผลงาน - ปัญหาที่แท้จริง รู้สาเหตุของปัญหา - ปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ - นโยบายที่เกี่ยวข้องกับปัญหา - ข้อกฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา - แบ่งกลุ่มรับผิดชอบในการจัดทำข้อมูลยืนยันปัญหาแต่ละประเด็น

More Related