520 likes | 756 Views
ประชาคม อาเซียนกับความเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม วัฒนธรรม. โดย ออท. ประดาป พิบูลสงคราม ผู้แทนไทยในคณะกรรมการประสานงานของอาเซียน ว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในภูมิภาค (ASEAN Connectivity Coordinating Committee) 22 ก.ย. 2556 09 .00-1 2 .00 น.
E N D
ประชาคมอาเซียนกับความเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมวัฒนธรรม โดย ออท. ประดาป พิบูลสงคราม ผู้แทนไทยในคณะกรรมการประสานงานของอาเซียนว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในภูมิภาค (ASEAN Connectivity Coordinating Committee) 22 ก.ย. 2556 09.00-12.00 น. สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
อาเซียน นอกอาเซียน ภายนอกประเทศ ภายในประเทศ จังหวัด ชุมชน
ภาระกิจของการปกครองท้องถิ่นภาระกิจของการปกครองท้องถิ่น
ความสำคัญของแผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนความสำคัญของแผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน • 46 ปี แห่งการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน • กระบวนการจัดทำแผนแม่บทฯ • ทิศทางและจุดเชื่อมโยงเป้าหมาย • ความฝันหรือเป็นจริง
ความเจริญก้าวหน้าของอาเซียนความเจริญก้าวหน้าของอาเซียน Bali Concord II 2003 1967 2007 2017 2027 2037 1977 1997 1987
2015 ASEAN Community Sectoral Cooperation Political Blueprint Socio-Cultural Blueprint Economic Blueprint 2009 ASEAN Charter 2007 Cebu(2015) 2005 Bali Concord(2020)
พัฒนาการการรวมตัวของอาเซียน (ASEAN Big Bang) อนาคต ปัจจุบัน อดีต : พัฒนาการในรอบ 46 ปี : สร้างประชาคมอาเซียน : ประชาคมอาเซียนถือกำเนิด
สถานการณ์โลก ยุคสงครามเย็น สถานการณ์ในภูมิภาค 1945/46: อินโดนีเซีย/ฟิลิปปินส์ได้เอกราช 1950: สงครามเกาหลี 1954: ก่อตั้ง SEATO 1961-63: ก่อตั้ง ASA, ASPAC 1955: ปฏิญญาบันดุง 1957: มาเลเซียได้เอกราช 1960: สงครามเวียดนาม 1965: สิงคโปร์ได้เอกราช เหตุการณ์สำคัญช่วงก่อนการจัดตั้งอาเซียน • สถานการณ์ในไทย • 1957: ก้าวเข้าสู่ยุคเผด็จการ 16 ปี • 1962: แพ้คดีการตัดสินเขาพระวิหาร
ช่วงที่หนึ่ง: การก่อตั้งอาเซียน (1967-1977) ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
สถานการณ์ในอาเซียน 1971: Zone of Peace, Freedom, Neutrality 1976: สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออก 1977: ASEAN Preferential Trade Arrangement เหตุการณ์สำคัญในช่วงการก่อตั้งอาเซียน • สถานการณ์โลกและภูมิภาค • 1967-70: สงครามเวียดนามรุนแรงขึ้น • 1972: ความสัมพันธ์สหรัฐฯ /จีน • 1973: วิกฤตการณ์น้ำมัน • 1975: สงครามเวียดนามยุติ • ความสัมพันธ์ไทย/เวียดนาม • ความสัมพันธ์ไทย/จีน • สถานการณ์ในไทย • 1973: สิ้นสุดยุคเผด็จการ
ช่วงที่สอง: การขยายตัวด้านเศรษฐกิจ (1977-1987) ไทย ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
เหตุการณ์สำคัญในช่วงการขยายตัวทางเศรษฐกิจเหตุการณ์สำคัญในช่วงการขยายตัวทางเศรษฐกิจ • สถานการณ์ในอาเซียน • 1984: - บรูไนเป็นสมาชิกหลังได้รับเอกราช- เศรษฐกิจประเทศสมาชิกขยายตัว • สถานการณ์โลกและภูมิภาค • ยุคประธานาธิบดี Gobachevรัสเซีย และแนวโน้มสหภาพโซเวียตล่มสลาย • 1979: - เวียดนามบุกกัมพูชา • - สงครามกัมพูชา • 1985: ปัญหาเศรษฐกิจ/การค้ากับประเทศเอเชีย อาเซียน และไทย • สถานการณ์ในไทย • เศรษฐกิจขยายตัว • รัฐบาลเริ่มมีเสถียรภาพ
ช่วงที่สาม: สมาชิกเพิ่มขึ้น (1987-1997) เวียดนาม พม่า ลาว ไทย ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
สถานการณ์ในอาเซียน 1992:AFTA 1995: - เวียดนามเป็นสมาชิก - SEANWFZ ประกาศเขตปลอดอาวุธ นิวเคลียร์ 1997: - ลาว/พม่า เป็นสมาชิก - AMM on Transnational Crime 1994: ASEAN Regional Forum (ARF) เหตุการณ์สำคัญในช่วงการเพิ่มสมาชิก • สถานการณ์โลกและภูมิภาค • 1989: สหภาพโซเวียตล่มสลาย • 1991: เจรจายุติสงครามกัมพูชา • 1992: ก่อตั้ง GMS • 1993: สหภาพยุโรป • 1997: วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย • 1990s: เศรษฐกิจจีนรุ่งเรือง • สถานการณ์ในไทย • 1991: ปฏิวัติรัฐบาลพลเอกชาติชาย • 1992: พฤษภาทมิฬ • 1990: การเมืองไร้เสถียรภาพ • 1997: เศรษฐกิจต้มยำกุ้ง
ช่วงที่สี่: การปรับโครงสร้าง (1997-2007) เวียดนาม พม่า ลาว ไทย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
สถานการณ์ในอาเซียน 1996: AICO 1997: ASEAN Vision 1998: AIA ACIA 1999: กัมพูชาเป็นสมาชิก 2002: DOC 2003: Bali Concord II (2020) 2005: Cebu ASEAN 2015 2006: ADMM 2007: Drafting ASEAN Charter – Rule-based, People-oriented ASEAN Connectivity เหตุการณ์สำคัญในช่วงการปรับโครงสร้าง • สถานการณ์โลกและภูมิภาค • 1990s: อินเดียเปิดประเทศ • เศรษฐกิจขยายตัว • 2000: ยุโรปเริ่มใช้เงินยูโร • 2001: Al-Qaeda • 2003: ไข้หวัดนกระบาดหนัก • 2004: ภัยพิบัติ Tsunami • 2007: ปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐฯ • สถานการณ์ในไทย • 2006: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ
ช่วงที่ห้า: สร้างประชาคมอาเซียน (2007-2017) UN GCC ECO RIO Group SAARC MERCOSUR
สถานการณ์ในอาเซียน 2007: พิมพ์เขียวเสาด้านเศรษฐกิจ 2008: กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้ 2009: พิมพ์เขียวเสาด้านการเมืองและสังคมวัฒนธรรม 2010: แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน/ATIGA/FTAs เหตุการณ์สำคัญในช่วงสร้างประชาคมอาเซียน • สถานการณ์โลกและภูมิภาค • 2008-2009: วิกฤตการณ์ทางการเงินในสหรัฐ • 2011: วิกฤตการณ์การเงินในยุโรป • 2012: ปัญหาทะเลจีนใต้ • สถานการณ์ในไทย • การเมืองไร้เสถียรภาพ • ภัยพิบัติน้ำท่วม • ผลกระทบจาก Eurozone • เริ่มตื่นตัวเรื่อง AEC
แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน China GMS BIMSTEC Japan BIMP-EAGA IMT-GT
กระบวนการยกร่างแผนแม่บทฯกระบวนการยกร่างแผนแม่บทฯ • ฝ่ายไทย • ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง • คณะกรรมาธิการวุฒิสภา (ต่างประเทศ และเศรษฐกิจการพาณิชย์ และอุตสาหกรรม) • ภาคเอกชน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 15 คณะมนตรีประชาคมอาเซียน สมัยพิเศษ HLTF ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 กรมอาเซียน - ประชุม 4 ครั้ง - รายงานรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน - มีมติรับรองแผนแม่บทฯ ณ กรุงฮานอย เวียดนาม 28 ต.ค. 2553 • มีมติให้จัดตั้ง High-Level Task Force (HLTF) • เมื่อวันที่ 24 ต.ค. 2552 ณ ชะอำ-หัวหิน • กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ของ HLTF • กรุงฮานอย เวียดนาม 13 ม.ค. 2553
หลักการสำคัญของแผนแม่บทฯหลักการสำคัญของแผนแม่บทฯ • ช่วยเร่งรัดและไม่เป็นอุปสรรคต่อข้อริเริ่มที่มีอยู่แล้วในอาเซียน ตลอดจนส่งเสริมกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน • สร้างผลลัพท์ที่เป็นประโยชน์กับทุกฝ่ายเพื่อสะท้อนผลประโยชน์ของทุกชาติสมาชิก • สร้างความสอดประสานระหว่างยุทธศาสตร์หรือแผนงานขององค์กรรายสาขาต่างๆ ที่มีอยู่แล้วและกำลังดำเนินการอยู่ภายใต้กรอบอาเซียนและอนุภูมิภาคต่างๆ • สร้างความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ • เสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะในภูมิภาค • มองไปภายนอก และช่วยส่งเสริมพลวัตการแข่งขันระหว่างประเทศคู่เจรจาต่างๆ ตลอดจนช่วยรักษาความเป็นศูนย์กลางของอาเซียน • มีรูปแบบการระดมทุนที่ชัดเจนและครอบคลุมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน
ภูมิหลัง • ไทยในฐานะเจ้าภาพเสนอแนวคิดเรื่องความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ต่อที่ประชุมผู้นำ ครั้งที่ 15 เมื่อเดือนตุลาคม 2552 • ที่ประชุมผู้นำเห็นร่วมกันในหลักการและเห็นควรจัดตั้งคณะทำงานระดับสูง (High-Level Task Force on ASEAN Connectivity)เพื่อร่างแผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ( Master Plan on ASEAN Connectivity) • แผนแม่บท ฯ ได้รับการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 ที่กรุงฮานอยเมื่อ 28 ตุลาคม 2553 • เป้าหมายสูงสุด: เพื่อสร้างความเชื่อมโยงทั้งด้านกายภาพ ด้านสถาบัน และประชาชนต่อประชาชน ให้อาเซียนกลายเป็นประชาคมอย่างแท้จริงในปี 2558
วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียนวัตถุประสงค์ของการส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน • การสร้างให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น • ส่งเสริมให้ประชาชนอาเซียนสามารถไปมาหาสู่กันได้ง่ายขึ้น • เป็นพื้นฐานสำหรับการสร้างความเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นๆ รวมทั้งเอเชียตะวันออก • มีทั้งการเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม กฎระเบียบต่างๆ และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน
แนวคิดสำคัญของการจัดทำแผนแม่บทแนวคิดสำคัญของการจัดทำแผนแม่บท • เป็นการประมวลแผนเชื่อมโยงในกรอบอนุภูมิภาคที่มีอยู่แล้ว (GMS, BIMSTEC, ACMECS, IMT-GT และอื่นๆ) เข้าด้วยกัน • เนื่องจากแผนดังกล่าวมีปัญหา การพัฒนาล่าช้า การก่อสร้างไม่แล้วเสร็จ • ความร่วมมือด้านกฎ กติกา และความตกลงในการเชื่อมโยงยังไม่มีการบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ • แผนแม่บทจึงเข้ามาเสริมสร้าง เร่งรัดการดำเนินการในกรอบความร่วมมือเหล่านั้นโดยไม่สร้างกรอบความร่วมมือใหม่ขึ้นอีก • โดยจัดลำดับความสำคัญของโครงการเร่งด่วน เพื่อผลักดันความเชื่อมโยงระหว่างกันอย่างแท้จริงในอาเซียน
สาระสำคัญ: แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน • ยุทธศาสตร์หลักสำหรับการพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน • ด้านกายภาพ (เส้นทางคมนาคมต่างๆ ICT และพลังงาน) • ด้านสถาบัน กฎระเบียบ (การเอื้อประโยชน์ทางการค้าและด้านพรมแดน) • ด้านประชาชนสู่ประชาชน (ด้านวัฒนธรรม และการเคลื่อนย้าย/ไปมาหาสู่ของประชาชน) • การระดมทรัพยากรเพื่อเพิ่มพูนความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน • การดำเนินการให้เป็นไปตามแผนแม่บทฯ
ยุทธศาสตร์หลักภายใต้แผนแม่บทยุทธศาสตร์หลักภายใต้แผนแม่บท • ยุทธศาสตร์หลักในการเพิ่มพูนความเชื่อมโยงทางกายภาพ(Physical Connectivity) • ยุทธศาสตร์หลักในการเพิ่มพูนความเชื่อมโยงทางสถาบัน(Institutional Connectivity) • ยุทธศาสตร์หลักในการเพิ่มพูมความเชื่อมโยงประชาชนสู่ประชาชน(People to People Connectivity)
ยุทธศาสตร์หลักในการเพิ่มพูนความเชื่อมโยงทางกายภาพยุทธศาสตร์หลักในการเพิ่มพูนความเชื่อมโยงทางกายภาพ
ความเชื่อมโยงด้านกายภาพความเชื่อมโยงด้านกายภาพ
GMS และเส้นทาง ระเบียงเศรษฐกิจ
SKRL • สายตะวันออก: ผ่านไทย – กัมพูชา – เวียดนาม • สายตะวันตก: ผ่านไทยและพม่า • เส้นประ คือ Missing Links • ไทย: อรัญประเทศ – คลองลึก • กัมพูชา: ปอยเปต – ศรีโสภณ • กัมพูชา: พนมเปญ – ล็อกนิน • เวียดนาม: ล็อกนิน – โฮจิมินห์ • เวียดนาม: มูเกีย – ทันอับ – วุงอัง • ลาว: เวียงจันทน์ – ท่าแขก – มูเกีย • พม่า: ตันบูซายัต – ด่านเจดีย์สามองค์ • ไทย: ด่านเจดีย์สามองค์ - น้ำตก
ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาความเชื่อมโยงทางสถาบันยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาความเชื่อมโยงทางสถาบัน
ยุทธศาสตร์หลักในการส่งเสริมความเชื่อมโยงประชาชนสู่ประชาชน ยุทธศาสตร์หลักในการส่งเสริมความเชื่อมโยงประชาชนสู่ประชาชน
Prioritized Projects โครงการเร่งรัดสำหรับการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกัน(Prioritized Projects) • จากยุทธศาสตร์ทั้ง 3 สาขามี 15 โครงการที่มีความเร่งด่วน ที่จะต้องเร่งดำเนินการในลำดับแรก ประกอบด้วย • โครงการจากยุทธศาสตร์ด้านกายภาพ 6 โครงการ • โครงการจากยุทธศาสตร์ด้านสถาบัน 5 โครงการ • โครงสร้างจากยุทธศาสตร์ประชาชนสู่ประชาชน 4 โครงการ
Prioritized Projects โครงการเร่งรัดในกรอบยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงทางกายภาพ • ก่อสร้าง/การยกระดับโครงข่ายทางหลวงอาเซียนช่วงที่ขาดหายให้แล้วเสร็จ และปรับปรุงเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแดน • ก่อสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์และคุนหมิงช่วงที่ขาดหายให้แล้วเสร็จ • สร้างแนวเส้นทางอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในอาเซียน • โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อมะละกา – เปกันบารู (IMT-GT: อินโดนีเซีย) • โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อกะลิมันตันระวันตกกับซาราวัก (BIMP-EAGA: อินโดนีเซีย) • การศึกษาเกี่ยวกับเครือข่ายเรือบรรทุกยานพาหนะล้อเลื่อนและการขนส่งทางทะเลระยะสั้น
Prioritized Projects โครงการเร่งรัดในกรอบยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงทางสถาบัน • จัดทำและปฏิบัติตามความตกลงการยอมรับร่วมกันสำหรับอุตสาหกรรมเร่งรัด • กำหนดกฎระเบียบร่วมสำหรับมาตรฐานและขั้นตอนการตรวจสอบรับรอง • เริ่มใช้ระบบการอำนวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวในระดับประเทศ ในปี ค.ศ. 2012 • ทางเลือกสำหรับกรอบ/รูปแบบการลดและเลิกตารางข้อจำกัด/อุปสรรคทางการลงทุนเป็นระยะ • การดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่ง
Prioritized Projects โครงการเร่งรัดในกรอบยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงด้านประชาชน • ลดขั้นตอนการตรวจลงตรา สำหรับบุคคลสัญชาติอาเซียน • การจัดตั้งศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้เสมือนจริงอาเซียน • การพัฒนามาตรฐานทักษะไอซีที • แผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
Prioritized Projects โครงการเร่งรัดที่ไทยยังต้องดำเนินการภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์ • ด้านกายภาพ: ทางรถไฟสายสิงคโปร์ – คุนหมิง ซึ่งไทยยังต้องก่อสร้างในส่วนอรัญประเทศ – คลองลึก (6 กม.) • ด้านสถาบัน: เร่งการจัดตั้งระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวให้สมบูรณ์ รวมทั้งการดำเนินการกระบวนการภายในเพื่อให้ปฏิบัติตามความตกลงและพิธีสารต่าง ๆ ในด้านการค้า การลงทุน และการบริหารจัดการข้ามพรมแดน • ด้านประชาชน: การเร่งเสริมสร้างสำนึกความเป็นประชาคมอาเซียน อาทิ การจัดทำหลักสูตรการศึกษาอาเซียน การเรียนรู้ภาษาอาเซียน การสร้างความตระหนักถึงรากวัฒนธรรมเดียวกันของประชาชนในอาเซียน ตามโครงการศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้เสมือนจริงอาเซียน
Thailand Wish list 1. เร่งรัดการดำเนินการในเรื่องของ Cross Border Procedures, Single Window/Single-Stop Inspection 2. Complete Missing Links รวมถึงการบำรุงรักษาถนน อย่างเป็นระบบ 3. สนับสนุนท่าเรือทวาย สนับสนุนการจัดตั้ง Dry Ports ในประเทศไทย (ปัจจุบันมีขึ้นแล้วที่ลาดกระบัง) 5. เร่งรัดการจัดทำ ASEAN Single Window/CBTA
Thailand Wish list 6. ผลักดันให้ข้อตกลงต่างๆ ที่มีอยู่แล้วมีผลบังคับใช้ 7.พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8.ส่งเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน 9.ส่งเสริมการเชื่อมโยงทางเทคโนโลยีโทรคมนาคมและการสื่อสาร (ICT) 10.ส่งเสริมให้มี People to People linkages รวมถึงด้านการศึกษาการสร้างความรู้ความเข้าใจด้านประวัติศาสตร์ การจัดทำมาตรฐานวิชาชีพ และการท่องเที่ยว
ผลที่ประเทศไทยจะได้รับผลที่ประเทศไทยจะได้รับ • ประโยชน์ทางการค้า การเคลื่อนไหวของสินค้า ประชาชน โลจิสติกส์ ท่องเที่ยว • เปลี่ยนจาก Transport Corridor เป็น Economic Corridor ด้วยการรองรับจากธุรกิจต่างๆ • ดึงดูดการลงทุนต่างชาติเข้ามาในระบบสาธารณูปโภค • ช่วยปูทางไปสู่ตลาดในเอเชียตะวันออก จีนตอนใต้ และอินเดีย • ความเชื่อมโยงจะเป็น Win-Win Solution สำหรับไทยและ ASEAN
วัฒนธรรมประเพณี ประชาคมอาเซียน “ความฝันหรือความจริง” กฎหมาย กฎข้อบังคับ กฎระเบียบ มาตรฐาน ทัศนคติ (mindset) • การศึกษา • ผังเมือง • สิ่งแวดล้อม • จำนวนนักท่องเที่ยว • แรงงานต่างชาติ ประสิทธิภาพการบังคับใช้
หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการต่างๆ ภายใต้ ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน กระทรวงคมนาคม • กรมทางหลวง • การรถไฟแห่งประเทศไทย • กรมเจ้าท่า • สำนักนโยบายและแผนการขนส่งจราจร • กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • กระทรวงพลังงาน • ปตท. • กฟผ. • สศช.