450 likes | 847 Views
ประชาคมอาเซียน. จัดทำโดย ด.ช.กิตติคุณ รุ่งสว่าง ม.1/2 ด.ช.ชานน สุคนธ์สราญ ม.1/2 เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ. เมนูหลัก. จุดเริ่มต้น อาเซียน จุดกำเนิด อาเซียน วัตถุประสงค์ อาเซียน สมาชิก อาเซียน. จุดเริ่มต้นอาเซียน.
E N D
ประชาคมอาเซียน จัดทำโดย ด.ช.กิตติคุณ รุ่งสว่าง ม.1/2 ด.ช.ชานน สุคนธ์สราญ ม.1/2 เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
เมนูหลัก • จุดเริ่มต้นอาเซียน • จุดกำเนิดอาเซียน • วัตถุประสงค์อาเซียน • สมาชิกอาเซียน
จุดเริ่มต้นอาเซียน • อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ แต่ได้ถูกยกเลิกไปเมื่อไทยเสียดินแดนปราสาทพระวิหารให้กัมพูชาในปีพ.ศ. 2505 ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ อาเซียนได้ถือกำเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ[5] หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบัน กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทำให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้น[6]เขตการค้าเสรีอาเซียนได้เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกำลังก้าวสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558[7]
สมาชิกอาเซียน • ประเทศไทย • ประเทศลาว • ประเทศพม่า • ประเทศกัมพูชา • ประเทศมาเลเซีย • ประเทศอินโดนีเซีย • ประเทศบรูไน • ประเทศสิงคโปร์ • ประเทศเวียดนาม • ประเทศฟิลิปปินส์
ความหมายสัญลักษณ์อาเซียนความหมายสัญลักษณ์อาเซียน • ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้ หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน • สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง • สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า • สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ • สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
หลักการพื้นฐานอาเซียนหลักการพื้นฐานอาเซียน • ประเทศสมาชิกอาเซียนยอมรับปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกันที่ปรากฏในสนธิสัญญาสัมพันธไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia) ดังนี้ • การเคารพซึ่งกันและกันในเอกราช อธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณาการแห่งดินแดนและเอกลักษณ์ของทุกชาติ • สิทธิในการดำรงอยู่โดยปราศจากการแทรกแซง การล้มล้างอธิปไตยหรือการบังคับจากภายนอก • หลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน • การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี • การไม่ขู่บังคับหรือการใช้กำลัง • ความร่วมมืออย่างมีประสิทธิภาพระหว่างประเทศสมาชิก
โครงสร้างของประชาคมอาเซียนโครงสร้างของประชาคมอาเซียน • เหตุที่อาเซียนสามารถสร้างสถาปัตยกรรมแบบนี้ได้ นั้นเพราะภูมิศาสตร์ของอาเซียนเอง ภูมิศาสตร์ของอาเซียนมันสุดยอดจริงๆ อยู่ตรงกลางประเทศมหาอำนาจขนาดใหญ่ของโลก เลยสามารถสร้างสถาปัตยกรรมแบบนี้ได้ ขนาดสหภาพยุโรป ยังสร้างสถาปัตยกรรมแบบนี้ไม่ได้เลย • อาเซียนเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ประสบความสำเร็จในการรวมตัว มากเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากอียู และอาเซียนก็ได้เข้าเป็นสมาชิกผู้สังเกตุการในยูเอ็นอีกต่างหาก นั่นหมายความว่า อาเซียนกำลังรวมเป็นประเทศเดียวกันแล้ว มีธงที่เป็นต้นข้าว 10 ต้น มีเพลงชาติอาเซียน คือ "ASEAN WAY"อาเซียนมีรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุด นั่นคือกฎบัตรอาเซียน หมายความว่าอาเซียนมีกฎหมายสูงสุดที่บังคับได้ทั้ง 10 ประเทศแล้ว แม้ว่ากฎบัตรจะเขียนแบบกว้างๆ แค่ไม่กี่ข้อก็ตาม
รายได้ประชากรเฉลี่ยต่อคนต่อปีของประเทศอาเซียนรายได้ประชากรเฉลี่ยต่อคนต่อปีของประเทศอาเซียน
รายได้ประชากรต่อคนต่อปีรายได้ประชากรต่อคนต่อปี
รายได้ประชากรต่อคนต่อปีรายได้ประชากรต่อคนต่อปี
สถานที่ท่องเที่ยว คลิกเพื่อเข้าชมวิดีโอ