420 likes | 566 Views
พ.ร.บ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ และทิศทาง พ.ร.บ.อาหาร ฉบับใหม่. “ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร ความสามารถในการส่งออก”. จุดแข็งและโอกาสของประเทศไทย. มูลค่าส่งออกอาหาร 3 แสนล้านบาท. Canada. Russian Federation. UK. EU. Japan. USA. China. India. Mexico. THA ILAND. Indonesia. Brazil.
E N D
พ.ร.บ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ และทิศทาง พ.ร.บ.อาหาร ฉบับใหม่
“ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรความสามารถในการส่งออก”“ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรความสามารถในการส่งออก” จุดแข็งและโอกาสของประเทศไทย มูลค่าส่งออกอาหาร 3 แสนล้านบาท
Canada Russian Federation UK EU Japan USA China India Mexico THAILAND Indonesia Brazil Australia South Africa Argentina นโยบายของรัฐบาลปี 2547 อาหารที่ผลิตและบริโภคในประเทศปลอดภัย มีมาตรฐานทัดเทียมระดับสากล นำไปสู่การเป็นครัวอาหารของโลก...
Thailand ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ส่งออก -- ครัวของโลก ในปี 2548 -- ส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ส่วนแบ่งตลาด ≈42.85 % สับปะรดกระป๋อง ส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ส่วนแบ่งตลาด ≈ 14.15 % กุ้ง ส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ส่วนแบ่งตลาด ≈ 28.10 % ข้าว ส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ส่วนแบ่งตลาด ≈ 37.95 % ทูน่ากระป๋อง ส่งออกเป็นอันดับ 4 ของโลก ส่วนแบ่งตลาด ≈ 8.91 % (ข้อมูลการส่งออกอาหารในปีพ.ศ. 2548) ไก่
จำนวนโรงงานผลิตอาหารในประเทศไทยในปี 2550 : ทั้งหมด 12,311 แห่ง โรงงานขนาดใหญ่ 1,228 แห่ง (10%) โรงงานขนาดเล็ก 3,562 แห่ง (29%) โรงงานขนาดกลาง 7,521 แห่ง (61%) หมายเหตุ (1) โรงงานขนาดเล็ก หมายถึง สถานที่ผลิตมีคนงานตั้งแต่ 7-20 หรือ เครื่องจักรไม่เกิน 5 แรงม้า (2) โรงงานขนาดกลาง หมายถึง สถานที่ผลิตที่มีคนงาน 20-50 คนหรือ เครื่องจักรตั้งแต่ 20-50 แรงม้า (3) โรงงานขนาดใหญ่ หมายถึง สถานที่ผลิตที่มีคนงานตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป หรือ เครื่องจักรตั้งแต่ 50 แรงม้าขึ้นไป (ที่มา : กรมโรงงาน, กระทรวงอุตสาหกรรม)
ประเทศไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า !!ยังเป็นครัวอาหารของโลกอยู่จริงหรือ ?
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทย ระบบการผลิตในห่วงโซ่อาหาร Providers (เกษตรกร/ผู้ประกอบการ) Farming Manufacturing ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก อาหาร ในอีก 10 ปีข้างหน้า !!ประเทศไทยยังเป็นครัวอาหารของโลกอยู่จริงหรือ ?
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทย ระบบการผลิตในห่วงโซ่อาหาร Providers (เกษตรกร/ผู้ประกอบการ) Farming Manufacturing ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก การเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ อาหาร • การเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย • การค้าเสรี • พฤติกรรมการบริโภค อุบัติการณ์ความไม่ปลอดภัย และภัยคุกคามใหม่ๆ • ไข้หวัดนก / โรควัวบ้า • การก่อการร้าย • สารเคมีปนเปื้อน • ไข้หวัดนก / โรควัวบ้า • การก่อการร้าย • สารเคมีปนเปื้อน พิบัติภัยทางธรรมชาติ ในอีก 10 ปีข้างหน้า !!ประเทศไทยยังเป็นครัวอาหารของโลกอยู่จริงหรือ ? • La Nina / El ninlyo • Global Warming • Tsunami • La Nina / El ninlyo • Global Warming • Tsunami
SPS= Sanitary and Phytosanitary Measures CODEX IPPC OIE การเปลี่ยนแปลง ของกระแสโลกาภิวัฒน์ (Globalization)
Canada Russian Federation UK EU Japan USA China India Mexico THAILAND Indonesia Brazil Australia South Africa Argentina กระแสการค้าโลก... สินค้าจีนทะลักทั่วโลก !!
การเปลี่ยนแปลงของโรคจากอดีตถึงปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของโรคจากอดีตถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน อดีต โลกเปลี่ยน โรคก็เปลี่ยน โรคติดต่อ เช่น อหิวาตกโรค กาฬโรค โรคไม่ติดต่อ เช่น อาหารเป็นพิษ มะเร็ง โรคที่เกิดจาก พฤติกรรม เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา Thai Food and Drug Administration ปัญหาเด็กมี พฤติกรรมการบริโภค ที่ไม่เหมาะสม !! ในช่วงปีพ.ศ. 2539-2544: เด็กไทยอายุต่ำกว่า 6 ปี เป็นโรคอ้วนเพิ่มขึ้นถึง 40% • โรคอ้วน เป็นสาเหตุของโรคอื่นๆ เช่น • ความดันโลหิตสูง • โรคไต • เบาหวาน • ภาวะทางจิตใจและสังคม
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทย ระบบการผลิตในห่วงโซ่อาหาร Providers (เกษตรกร/ผู้ประกอบการ) Farming Manufacturing ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก การเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ อาหาร • การค้าเสรี • การเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย • พฤติกรรมการบริโภค อุบัติการณ์ความไม่ปลอดภัย และภัยคุกคามใหม่ๆ • ไข้หวัดนก / โรควัวบ้า • การก่อการร้าย • สารเคมีปนเปื้อน พิบัติภัยทางธรรมชาติ ในอีก 10 ปีข้างหน้า !!ประเทศไทยยังเป็นครัวอาหารของโลกอยู่จริงหรือ ? • La Nina / El ninlyo • Global Warming • Tsunami
-ไข้หวัดนก -ยาฆ่าแมลงตกค้าง -สารเร่งเนื้อแดง - Dioxin อุบัติการณ์ความไม่ปลอดภัย และภัยคุกคามใหม่ๆ ในประเทศ ต่างประเทศ - ไข้หวัดนก - โรควัวบ้า - ยาฆ่าแมลงตกค้าง - Dioxin - Terrorism
การตรวจสอบอาหาร ณ สถานที่จำหน่าย/ กระจายสินค้า • ปี 46-50 พบการตกค้างสารเคมีในผักผลไม้ 4.0-8.2% • ปี 48 อาหารพร้อมบริโภคปนเปื้อนจุลินทรีย์ 44.2% • ปี 47-49 พบการตกค้างสารเคมีในผักผลไม้นำเข้า 2.9% ที่มา: - ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร และ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
Export Reject ..การปนเปื้อนทางเคมีและจุลินทรีย์ของอาหารส่งออก ทำให้สินค้าไทยถูกตีกลับจากประเทศคู่ค้า!! เดนมาร์ก : ฮิสตามีนในปลาทูน่ากระป๋อง Vibrio choleraeในกุ้ง อิตาลี : Yersinia enterocoliticaในปลาหมึกแช่แข็ง เยอรมนี : สารปรุงแต่งสีเหลืองต้องห้าม ในเส้นบะหมี่เหลือง สหราชอาณาจักร : แอลฟลาทอกซินในถั่วลิสงอบ กรอบเกินกำหนด ฟินแลนด์ : สารกันบูดซัลไฟต์ในลูกอม กรีซ : โลหะหนักแคดเมียมในปลาหมึกบรรจุ กระป๋องเกินกำหนด
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทย ระบบการผลิตในห่วงโซ่อาหาร Providers (เกษตรกร/ผู้ประกอบการ) Farming Manufacturing ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน การเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ อาหาร • การค้าเสรี • การเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย • พฤติกรรมการบริโภค อุบัติการณ์ความไม่ปลอดภัย และภัยคุกคามใหม่ๆ • ไข้หวัดนก / โรควัวบ้า • การก่อการร้าย • สารเคมีปนเปื้อน พิบัติภัยทางธรรมชาติ ในอีก 10 ปีข้างหน้า !!ประเทศไทยยังเป็นครัวอาหารของโลกอยู่จริงหรือ ? • La Nina / El ninlyo • Global Warming • Tsunami
พิบัติภัยทางธรรมชาติ!!พิบัติภัยทางธรรมชาติ!! Global Warming Tsunami El nino/La nina “จำเป็นต้องวางแผนรับมือ โดยเฉพาะในภาวะวิกฤต” Draught
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเป็นครัวของโลกของไทยและความมั่นคงด้านอาหารในประเทศไทย ระบบการผลิตในห่วงโซ่อาหาร Providers (เกษตรกร/ผู้ประกอบการ) Farming Manufacturing ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก นโยบาย/การจัดการภาครัฐ • การบูรณาการการจัดการภาครัฐ อาหาร • นโยบาย ด้านเศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม • การสนับสนุนของภาครัฐ/เอกชน • การวางแผนการผลิต • การวางแผนการตลาด • มาตรการและการควบคุมอาหาร (Food Safety Control/Operation) ในอีก 10 ปีข้างหน้า !!ประเทศไทยยังเป็นครัวอาหารของโลกอยู่จริงหรือ ?
การกำกับดูแลตลอดห่วงโซ่อาหารในปัจจุบันการกำกับดูแลตลอดห่วงโซ่อาหารในปัจจุบัน ภายใต้ 6 กระทรวง และมากกว่า 30 หน่วยงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 แหล่ง รวบรวม นำเข้า ขนส่ง ฆ่า เชือด แปร สภาพ เบื้องต้น ขนส่ง แปรรูป ขนส่ง จัดเก็บ จำหน่าย ปรุงจำหน่าย โฆษณา & บริโภค เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ประมง ขาดนโยบาย/มาตรการด้านอาหารและขาดการบูรณาการ กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวง พาณิชย์ กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวง การต่างประเทศ กระทรวง มหาดไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มากกว่า 30 หน่วยงาน !! กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มากกว่า 30 ฉบับ !!
การวางแผนการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานการวางแผนการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงาน ในปี 2551 การแย่งชิงระหว่างพืชอาหารและพืชพลังงานจะเกิดขึ้น !! หากมีการใช้เอทานอลเกินวันละ 1-2 ล้านลิตร ปัจจุบันความต้องการใช้เอทานอลประมาณวันละ 600,000 ลิตร ทำให้ความต้องการใช้อ้อยและมันสำปะหลังเพิ่มขึ้น ขณะนี้นักลงทุนสหรัฐ-ออสซี่-แคนาดา ยึดไทยเป็นฐานปลูกสบู่ดำ “ผลิตไบโอดีเซล”
ปัญหา ระบบผลิตอาหาร ความปลอดภัย ความเพียงพอ คุณภาพ จุดแข็ง โอกาส สถานการณ์ ภัยคุกคาม
ผลกระทบ “สุขภาพ อนามัย” Safety “เศรษฐกิจ” “ความเชื่อมั่น ต่อสินค้า”
GlobalFood Management System ทางออกของการแก้ปัญหา การจัดการระบบ อาหารที่เป็นสากล
เพียงพอ ความปลอดภัย ด้านอาหาร คุณภาพ อาหาร อาหาร ระบบนิเวศน์ ภัยคุกคาม ความมั่นคงทางอาหาร การจัดการระบบอาหารที่เป็นสากล 1o ,2o Production เป้าหมาย Providers ( เกษตรกร ผู้ประกอบการ) Farming Manufacturing
เพียงพอ ความปลอดภัย ด้านอาหาร ปัจจัย ภายนอก คุณภาพ อาหาร ปัจจัยภายใน อาหาร ระบบนิเวศน์ ภัยคุกคาม ความมั่นคงทางอาหาร การจัดการระบบอาหารที่เป็นสากล 1o ,2o Production Providers ( เกษตรกร ผู้ประกอบการ) Farming Manufacturing
เพียงพอ ความปลอดภัย ด้านอาหาร ปัจจัย ภายนอก คุณภาพ อาหาร ปัจจัยภายใน อาหาร ระบบนิเวศน์ ภัยคุกคาม ความมั่นคงทางอาหาร เจ้าหน้าที่ การปกป้องสิทธิ์ ส่งเสริมความรู้ Basic Education อนุบาล - อุดมศักษา ส่งเสริมความรู้ Safety Mind อาหารศึกษา การจัดการระบบอาหารที่เป็นสากล 1o ,2o Production Providers ( เกษตรกร ผู้ประกอบการ) Farming Manufacturing ผู้บริโภค
สนช.จึงได้เห็นชอบให้มี พ.ร.บ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติพ.ศ. 2551 เพื่อจัดการเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหารของไทย
องค์ประกอบคณะกรรมการอาหารแห่งชาติองค์ประกอบคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ Single Policy – Multiple Agency – Integrated Action คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ประธาน : นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย กรรมการ :รัฐมนตรี 11 กระทรวง เลขาธิการ 4 หน่วยงาน และผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน เลขานุการ : เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา และ ผู้อำนวยการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
1 2 3 4 6 7 8 9 10 11 12 5 แปรรูป แหล่ง รวบรวม จำหน่าย ปรุง จำหน่าย ขนส่ง ขนส่ง แปร สภาพ เบื้องต้น จัดเก็บ โฆษณา & บริโภค เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ประมง ฆ่า เชือด ขนส่ง นำเข้า พรบ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ.2551 ครอบคลุม ความปลอดภัยอาหาร (Food Safety) คุณภาพ อาหาร (Food Quality) ความมั่นคง ทางอาหาร (Food Security) อาหารศึกษา (Food Education) เชื่อมโยง 11 กระทรวง 4 หน่วยงาน กลาโหม คลัง ต่างประเทศ พัฒนาสังคมฯ อุตสาหกรรม สาธารณสุข พาณิชย์ มหาดไทย วิทยาศาสตร์ฯ ศึกษาธิการฯ เกษตรฯ สนง.คณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค สภาพัฒนาการ เศรษฐกิจฯ สภาความมั่นคง แห่งชาติ สนง.สุขภาพ แห่งชาติ
- กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงกลาโหม - กระทรวงการคลัง - กระทรวงการต่างประเทศ - กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ - กระทรวงเกษตรฯ - กระทรวงพาณิชย์ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงอุตสาหกรรม - สภาพัฒนาการเศรษฐกิจฯ - สภาความมั่นคงแห่งชาติ - สนง.คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ.2551 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ประธาน : นายกรัฐมนตรี เลขานุการฯ : อย. และ มกอช. ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 ท่าน Food Quality Food Safety Food Security Food Education คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน เชื่อมโยง 11 กระทรวง 30 หน่วยงาน 32
รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการแต่งตั้งตามมติคณะรัฐมนตรีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการแต่งตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี 1. ศ.เกียรติคุณ นพ.ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์ 2. นายธนินท์ เจียรวนนท์ 3. นายพจน์ จิรวุฒิกุล 4. นายสุรพล ว่องวัฒนโรจน์ 5. มล.อโณทัย ชุมสาย 6. ผศ.ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย 7. ศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน
กลไกการดำเนินการ • กำหนดกรอบ แนวทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ รวมทั้งจัดการระบบอาหารของประเทศพัฒนาระบบการประสานงาน / ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ติดตาม ประเมินผลตามนโยบายที่กำหนด • 3. ดำเนินงานบนพื้นฐาน ขอบเขต และบทบาทของแต่ละหน่วยงานและกฎหมายที่ถือปฏิบัติอยู่
สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้ 1. ให้มีองค์กรหลักและกลไกในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์เกี่ยวกับอาหาร - คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ (มาตรา 4) - คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง (มาตรา 9) - คณะอนุกรรมการ - คณะทำงาน
สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้(ต่อ)สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้(ต่อ) 2. กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการอาหาร แห่งชาติ(มาตรา 10) - เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ - จัดทำแผนเผชิญเหตุและระบบเตือนภัย - เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ และมอบหมายหน่วยงานดำเนินการ - กำกับดูแล ติดตามและประเมินผล- ให้มีการประชุมอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง
สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้(ต่อ)สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้(ต่อ) 3. ให้อำนาจนายกรัฐมนตรี โดยคำแนะนำของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติและความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีประกาศกำหนด (มาตรา 12) - เขตพื้นที่ที่จำเป็นต้องสงวนไว้ เพื่อประโยชน์ ด้านความมั่นคงด้านอาหารเป็นการชั่วคราว - หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการใช้ ประโยชน์ในเขตพื้นที่ดังกล่าว 4. กำหนดโทษผู้ที่ฝ่าฝืน (มาตรา 14)
สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้(ต่อ)สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้(ต่อ) 5. หน่วยงานธุรการ (มาตรา 15 วรรคสาม) - สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ - หน่วยงานที่คณะรัฐมนตรี กำหนด 6. ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 16) - นายกรัฐมนตรี
สุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ Food Security Food Safety Food Quality Food Education มิติการจัดการในระบบการผลิตอาหารของประเทศไทย
ประโยชน์ที่ได้รับ ระบบการจัดการด้านอาหารมีเอกภาพและประสิทธิภาพ คุณภาพอาหาร ความปลอดภัย ด้านอาหาร ความมั่นคง ด้านอาหาร อาหารศึกษา อาหารมีเพียงพอ (Adequacy) ทั้งในยามปกติ และฉุกเฉิน แพร่หลายทุกพื้นที่ (มี Availability) ประชาชนสามารถซื้อได้ (Affordability) ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ (Accessibility) การรักษาสมดุลระบบนิเวศ และทรัพยากรธรรมชาติ ประชาชน มีภูมิคุ้มกัน (มีความรู้ + ปกป้องสิทธิ) ประชาชน ได้บริโภคอาหาร ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ประชาชน ได้บริโภคอาหาร ที่มีความปลอดภัย ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี และลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เนื่องจากความเจ็บป่วย ตลอดจนส่งเสริมการส่งออกอาหารให้สอดคล้องกับระบบสากล 40
อาหารที่ผลิตและบริโภคในประเทศปลอดภัย มีมาตรฐานทัดเทียมระดับสากล นำไปสู่การเป็นครัวอาหารของโลกอย่างยั่งยืน...