1 / 165

ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน

ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน. บริษัท อาหารสัตว์ จำกัด ต่อไปนี้เป็นข้อมูลของบริษัทในการเริ่มดำเนินงานใน 2 เดือนแรก ปี 25+1. ใช้วิธีการคำนวณแบบถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก. แผนกผลิต-เดือนมกราคม. ไม่มีการผลิตค้างอยู่ในงวดที่ผ่านมา. จำนวนหน่วยที่เริ่มผลิตในงวดนี้.

Download Presentation

ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน บริษัท อาหารสัตว์ จำกัด ต่อไปนี้เป็นข้อมูลของบริษัทในการเริ่มดำเนินงานใน 2 เดือนแรก ปี25+1

  2. ใช้วิธีการคำนวณแบบถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักใช้วิธีการคำนวณแบบถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

  3. แผนกผลิต-เดือนมกราคม

  4. ไม่มีการผลิตค้างอยู่ในงวดที่ผ่านมาไม่มีการผลิตค้างอยู่ในงวดที่ผ่านมา

  5. จำนวนหน่วยที่เริ่มผลิตในงวดนี้จำนวนหน่วยที่เริ่มผลิตในงวดนี้

  6. หน่วยที่ผลิตในงวดนี้จะถูกแบ่งเป็นงานที่ทำเสร็จและงานที่ยังทำไม่เสร็จในงวด งานที่ทำเสร็จจะถูกส่งต่อไปแผนกต่อไป

  7. งานที่ผลิตเสร็จแล้ว ใช้ปัจจัยการผลิตครบ

  8. ปลายงวดมีงานที่ยังผลิตไม่เสร็จ ซึ่งผลิตไปได้แล้วครึ่งหนึ่ง – วัตถุดิบใส่ตั้งแต่ต้นกระบวนการผลิต จึงใช้ครบ 200 หน่วย - ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ 200*1/2 = 100

  9. อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิด150% ตามเกณฑ์ต้นทุนค่าแรงทางตรง ดังนั้น ค่าแรงทางตรงระหว่างงวด 2,800 บาท คูณ อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต 150% ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน 4,200 บาท

  10. เอาราคาต้นทุนมาหารด้วยจำนวนหน่วยของต้นทุน เช่น ต้นทุนต่อหน่วยของวัตถุดิบได้จากเอา 8,000 หาร 800 เท่ากับ 10

  11. หาต้นทุนของสินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วของแผนก โดยเอาจำนวนหน่วยที่ผลิตเสร็จไปคูณกับราคาต้นทุนรวมต่อหน่วย

  12. แผนกบรรจุ-เดือนมกราคมแผนกบรรจุ-เดือนมกราคม

  13. เริ่มต้นผลิตจึงยังไม่มีงานที่ทำไม่เสร็จในงวดที่แล้วเริ่มต้นผลิตจึงยังไม่มีงานที่ทำไม่เสร็จในงวดที่แล้ว

  14. เป็นหน่วยที่แผนกที่แล้วผลิตเสร็จแล้วส่งต่อมาบรรจุต่อ ดังนั้นต้องมีจำนวนเท่ากัน

  15. หน่วยที่ผลิตในงวดนี้จะถูกแบ่งเป็นงานที่ทำเสร็จและงานที่ยังทำไม่เสร็จในงวด งานที่ทำเสร็จจะเป็นสินค้าสำเร็จรูป

  16. งานที่ยังทำไม่เสร็จปลายงวดผลิตไปได้ 1 ใน 4 ของทั้งหมด • วัตถุดิบใส่เมื่องานใส่ ดังนั้นงานระหว่างทำปลายงวดยังไม่ได้ใช้วัตถุดิบ • ต้นทุนแปรสภาพเท่ากับ 200x1/4 = 50

  17. ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานคำนวณได้จาก 50% ของวัตถุดิบ

  18. ต้นทุนต่อหน่วยเทียบเท่า = เอาต้นทุนทั้งหมดหารหน่วยเทียบเท่า

  19. มีสินค้าสำเร็จรูป 400 หน่วย จำหน่ายได้ 90%= 360 หน่วย ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป 64.11 makeup 180%= 115.40 บาท เพราะฉะนั้นขายได้ 360 X 115.40 = 41,544 บาท

  20. นำมาจากรายงานการผลิต ต้นทุนระหว่างงวด

  21. ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวดต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด

  22. จากรายงานการผลิต

  23. ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวดต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด

  24. จากรายงานการผลิต

  25. ลบออกเพราะโอนไปแผนกทันไปแล้วลบออกเพราะโอนไปแผนกทันไปแล้ว

  26. ขายสินค้าไม่หมด เหลือ 40 หน่วย ต้นทุน 64.11 บาท เท่ากับ 40 X 64.11

  27. แผนกผลิต-เดือนกุมภาพันธ์แผนกผลิต-เดือนกุมภาพันธ์

  28. งานระหว่างทำปลายงวด ยกไป เป็น งานระหว่างทำต้นงวดเดือนกุมภาฯ ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด ยกไป เป็นต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด

  29. หน่วยที่ยังผลิตไม่เสร็จในเดือนมกราคมของแผนกผลิตนำมาผลิตต่อหน่วยที่ยังผลิตไม่เสร็จในเดือนมกราคมของแผนกผลิตนำมาผลิตต่อ

  30. หน่วยที่นำมาผลิตเพิ่มในเดือนนี้หน่วยที่นำมาผลิตเพิ่มในเดือนนี้

  31. แบ่งเป็นงานที่ผลิตเสร็จและงานที่ยังค้างอยู่แบ่งเป็นงานที่ผลิตเสร็จและงานที่ยังค้างอยู่

More Related