480 likes | 901 Views
แนวโน้มการศึกษาในทศวรรษหน้า ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข. แนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้า. ด้านบวก 1. หลักสูตรใหม่เกิดขึ้นจำนวนมาก 2. หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มมากขึ้น 3. การจัดการศึกษามีความเป็นสากลมากขึ้น 4. ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาสทางการศึกษาลดลง 5. โอกาสรับบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น.
E N D
แนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้าแนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้า ด้านบวก 1. หลักสูตรใหม่เกิดขึ้นจำนวนมาก 2. หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มมากขึ้น 3. การจัดการศึกษามีความเป็นสากลมากขึ้น 4. ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาสทางการศึกษาลดลง 5. โอกาสรับบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
แนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้าแนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้า ด้านลบ 1. การเพิ่มช่องว่างด้านคุณภาพในการจัดการศึกษา 2. การผลิตบัณฑิตเกินความต้องการของตลาด 3. การสอนทักษะทางการคิดและทางอารมณ์ยังไม่มีคุณภาพ 4. การสอนคุณธรรม จริยธรรมยังไม่มีคุณภาพ 5. การสอนภาษาต่างประเทศยังไม่มีคุณภาพ
กระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคตกระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคต 1. สถานศึกษาต้องเพิ่มความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง (Learning Organization) 2. โครงสร้างองค์กรเปลี่ยนจากการบังคับบัญชาเป็นโครงสร้างที่ก่อให้เกิดความร่วมมือและยืดหยุ่น 3. ผู้บริหารเปลี่ยนบทบาทจากผู้คุมกฏหรือควบคุมงานเป็นผู้สนับสนุนหรือเอื้ออำนวยความสะดวกด้านสารสนเทศ 4. ปรับปรุงกลยุทธ์บริหารจัดการโดยยึดหลักการให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างกัน
กระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคตกระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคต 5. สร้างเครือข่ายพันธมิตรกับสถานศึกษาอื่น 6. ส่วนกลางยังมีแนวโน้มที่จะรวมศูนย์และเข้มงวดในการกำหนดเรื่องสำคัญๆ เพิ่มมากขึ้น 7. การบริหารโรงเรียนได้รับการกระจายอำนาจในเรื่องสำคัญเพิ่มขึ้น 8. กระแสเรียกของผู้มีส่วนได้เสียกับโรงเรียนทวีมากขึ้น
กระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคตกระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคต 9. กระแสกดดันของสังคมต่อโรงเรียนเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง 10. โรงเรียนต้องแสดงบทบาทการเป็นสถาบันที่สำคัญของสังคมแห่งการเรียนรู้ 11. เกิดการเรียนรู้แบบไร้พรมแดนหรือการเรียนรู้แบบเสมือนโดยไม่จำกัดเวลา สถานที่ 12. หลักสูตรต้องสอดคล้องกับสถานศึกษาที่ทำงานหรือสถานประกอบการ
การสร้างความรู้ความเข้าใจ การแก้ไขปัญหานิสิต นักศึกษา ในปัจจุบัน • ความรุนแรงในการรับน้องใหม่ • การแต่งกาย • การดื่มสุรา • การเล่นการพนัน
สิ่งที่ต้องการพัฒนา 1. การเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. การเรียนรู้วิชาการ วิชาชีพ ในเชิงปฏิบัติจริง 3. การสร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ (ความเป็นผู้ประกอบการ) 4. ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม
สิ่งที่ต้องการพัฒนา (ต่อ) 5. พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ปัญหา 6. ค่านิยมไทย ประเพณี วัฒนธรรม 7. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8. สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย 9. จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
สิ่งที่ผู้บริหารโรงเรียนพึงมีสิ่งที่ผู้บริหารโรงเรียนพึงมี 1. คิดเป็น คิดเชิงวิเคราะห์ (เหมือนเหรียญ 2 หน้า) และคิดเชิงระบบ (mind map) 2. เข้าใจ เรียนรู้ให้ทันโลก จะได้ไม่รู้น้อยกว่านักเรียน 3. ยอมรับการเปลี่ยนแปลง 4. ทำงานเป็นทีมเวิร์ค
จุดเน้นอุดมศึกษาโลก 1. วิชาการ : แนวทางการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ : การเฟ้นหาตัวนักศึกษาเชิงรุก : กระบวนการสร้างความเป็นเลิศในการวิจัย 2. โครงสร้างและการบริหาร : การทำงานในลักษณะภาคีเครือข่ายและ เครือข่ายการเรียนรู้ตลอดชีวิต : การส่งเสริมความหลากหลายในมิติต่างๆ
จุดเน้นอุดมศึกษาโลก (ต่อ) 3. วิวัฒนาการด้านสังคมและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (กับเจตนารมณ์ของอุดมศึกษา) : สนับสนุนประชาชนให้บริการสังคมในรูปแบบต่างๆ : การสร้างกิจกรรมและบรรยากาศในมหาวิทยาลัยเพื่อเอื้อต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความมั่นคงในตัวนักศึกษา : การเตรียมความพร้อมของนักศึกษาและเตรียมนักศึกษาท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับบริบททางการศึกษาแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับบริบททางการศึกษา แนวคิด 1. บริบทมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาอยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้บริหาร แต่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้องศึกษา เข้าใจเพื่อนำไปใช้ในการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม 2. บริบทกับระบบมีความสำพันธ์กันเป็นอย่างยิ่ง การวิเคราะห์บริบทต้องพิจารณาในลักษณะที่เป็นระบบ ผู้วิเคราะห์บริบทจึงต้องเข้าใจระบบอย่างลึกซึ้ง 3. บริบททุกชนิดมีอิทธิพลและส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา ขณะเดียวกันบริบทแต่ละชนิดก็ต้องมีอิทธิพลหรือผลกระทบและความสัมพันธ์ระหว่างกันด้วย
ความหมายของบริบท บริบท เป็นเรื่องของกิจกรรมและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในหรือนอกองค์กร ลักษณะสำคัญของบริบท * เป็นเรื่องของสภาพ สภาวการณ์ สภาวะแวดล้อม เหตุการณ์ กิจกรรมที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกองค์กร * มีผลต่อการบริหาร การตัดสินใจและพฤติกรรมของบุคคลและองค์การ - อาจทำให้องค์กรอยู่รอดหรือพัฒนาได้ - อาจนำไปสู่ความล้มเหลวในการบริหาร * บริบทกับสภาพแวดล้อมใช้แทนกันได้
บริบทกับแนวคิดเชิงระบบบริบทกับแนวคิดเชิงระบบ * บริบทเป็นองค์ประกอบสำคัญในรูปแบบระบบ * บริบทมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาส่งผลต่อองค์กร * บริบททั้งภายในและภายนอกกับการบริหารองค์กรทางการศึกษามีผลกระทบซึ่งกันและกัน * บริบทส่งผลทั้งเกื้อหนุน – อุปสรรค ต่อความสำเร็จขององค์กร * ผู้บริหาร - ต้องใช้บริบทที่เกื้อหนุนเป็นโอกาส - เปลี่ยนแปลงบริบทที่เป็นอุปสรรคเป็นโอกาส
บริบทกับสภาพแวดล้อม บริบท (Contacts) สภาพแวดล้อม (Environment) • องค์ประกอบทั้งหมด • เกิดหรืออยู่นอกองค์กร • ขอบข่ายกำหนดไว้ไม่ชัดเจน
สภาพแวดล้อมกับองค์การสภาพแวดล้อมกับองค์การ องค์การ สภาพแวดล้อม (Environment)
กำหนดภารกิจและผลผลิตที่คาดหวังขององค์การกำหนดภารกิจและผลผลิตที่คาดหวังขององค์การ ผู้ส่งตัวป้อนหรือ Input ให้ข้อมูลย้อนกลับ ต่อองค์กร ความสำคัญ ของบริบท มีอิทธิพลต่อกระบวนการขององค์การ
จุดมุ่งหมายของการศึกษาบริบทจุดมุ่งหมายของการศึกษาบริบท * ทราบ เข้าใจสิ่งแวดล้อมรอบระบบคือการศึกษา * ทราบถึงอิทธิพลที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของระบบและผู้บริหาร * ผู้บริหารต้องจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของบริบทหรือแก้ปัญหาที่บริบทประสบอยู่
ประเด็นของการศึกษาบริบทประเด็นของการศึกษาบริบท 1. ใช้การกำหนดนโยบายและวางแผนทางการศึกษา 2. ใช้ในการนำนโยบายและแผนไปปฏิบัติ 3. ใช้ในการวินิจฉัย สั่งการ 4. ใช้ในการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล
คุณสมบัติของนักบริหารที่เอื้อต่อการนำบริบทมาใช้คุณสมบัติของนักบริหารที่เอื้อต่อการนำบริบทมาใช้ - เข้าใจธรรมชาติของบริบท - คาดการณ์บริบทในอนาคตได้ - กำหนดภาพอนาคตที่ต้องการขององค์การได้ - เลือกกลยุทธ์ในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ - ทำแผนเพื่อปรับตัวให้ทันความเปลี่ยนแปลงได้ - เข้าใจการเปลี่ยนแปลงขององค์กรหรือบริบทอย่างเป็นระบบ
แบบขององค์กรที่อยู่รอดได้ในบริบทที่เปลี่ยนแปลงแบบขององค์กรที่อยู่รอดได้ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง - มีหลายจุดหมายทำกิจกรรมได้หลายอย่าง - การติดต่อสื่อสารทั่วถึงทั้งองค์กร - โครงสร้างยืดหยุ่น รูปแบบไม่ตายตัว - การตัดสินใจอยู่ในรูปแบบกระจายอำนาจ - สร้างบริบทที่พึงประสงค์มากกว่าตอบสนองความต้องการของบริบท - เน้นการจัดการแบบมีส่วนร่วม - ปรับปรุงผลผลิตและกระบวนการทำงานให้สอดรับการเปลี่ยนแปลงของบริบท
บริบทกับระบบ การศึกษาระบบ จะต้องศึกษาทั้งองค์ประกอบของระบบ หน้าที่ ความสัมพันธ์ และผลกระทบ ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกระบบ ที่ส่งผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ภาพแสดงระบบ Environment Contexts Input Process Output Contexts Feedback Contexts Environment
สรุปลักษณะที่สำคัญของระบบสรุปลักษณะที่สำคัญของระบบ 1. ระบบคือส่วนหรือองค์ประกอบ เป็นหนึ่งเดียว 2. ประกอบด้วยระบบใหญ่และระบบย่อย เช่น - หน่วย (Unit) - ระบบย่อย (Sub-System) - องค์ประกอบ (Element) - ส่วน (Past) (ต่อ)
สรุปลักษณะที่สำคัญของระบบ (ต่อ) 3. องค์ประกอบย่อยหน้าที่ต่างกันแต่จุดหมายเดียวกัน 4. องค์ประกอบย่อยมีผลกระทบสัมพันธ์และพึ่งพาอาสัยกัน 5. องค์ประกอบย่อยมีเขตแดนแต่ไม่คงที่ตายตัว
ตารางการวิเคราะห์บริบทภายในและภายนอกตารางการวิเคราะห์บริบทภายในและภายนอก สภาพแวดล้อมภายนอก - สภาพทางเศรษฐกิจ - สภาพแวดล้อมทางสังคม - สภาพแวดล้อมทางการศึกษา - สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี - สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับประชากร สภาพแวดล้อมภายใน - ทัศนของสถาบัน - หลักสูตรสถานศึกษา - นักเรียนนักศึกษา - บุคลากร - อาคารสถานที่ - การเงิน
ประเภทของระบบ 1. ประเภทระบบ - ระบบ (Close System) เฉพาะบุคคลภายในระบบเท่านั้น - ระบบ (Open System) เปิดโอกาสให้นำตัวป้อนที่หลากหลายเข้าสู่ระบบ 2. ประเภทระดับ - ระบบรูปธรรม : วัตถุ/ด้วยระบบที่สัมผัสได้ - ระบบนามธรรม : ระบบแนวคิด / จินตนาการ
สภาวะของระบบ สภาวะไม่สมดุล สภาวะสมดุล - ระบบปรับตัวไม่สม่ำเสมอ - รับเร็ว - ช้าเกินไป - มาก - น้อยเกินไป - ปรับตัว - ระบบย่อยสัมพันธ์กันดี - ตัวป้อนเข้าสู่ระบบสม่ำเสมอ ส่งตัวป้อน สภาวะแวดล้อม (Environment) ส่งตัวป้อน
ทฤษฎีระบบทีเกี่ยวข้องกับการศึกษาทฤษฎีระบบทีเกี่ยวข้องกับการศึกษา 1. ทฤษฎีระบบทั่วไป 2. ทฤษฎีระบบของพาร์สัน 3. ทฤษฎีระบบของเกทเซลล์และกูบา
ระบบการศึกษาตามแนวคิดเชิงระบบระบบการศึกษาตามแนวคิดเชิงระบบ - ระบบการศึกษาเป็นระบบของระบบสังคม - หน้าที่หลักคืออบรมสั่งสอนผู้เรียน - ประกอบด้วยระบบย่อยต่างๆ เช่น ระบบการเรียนการสอน การวัดผล - แต่ละระบบมีเส้นแบ่งเขตแดนของตนเอง - แบ่งปันระบบปิดและระบบเปิด - นำข้อมูลย้อนกลับจากบริบทมาปรับปรุง
การศึกษาและวิเคราะห์ระบบหรือบริบทการศึกษาและวิเคราะห์ระบบหรือบริบท ศึกษาโครงสร้างและ องค์ประกอบ - ปรัชญาแนวคิดพื้นฐาน ศึกษาและวิเคราะห์ ระบบย่อย - ศึกษาปรัชญาและจุดหมาย - ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน - หาสาเหตุของปัญหา - นำผลไปกำหนดจุดมุ่งหมาย
โอกาส (Opportunities) ........................................ ........................................ ........................................ จุดอ่อน (Weaknesses) ........................................ ........................................ ........................................ จุดแข็ง (Threats) ........................................ ........................................ ........................................ อุปสรรค (Strength) ........................................ ........................................ ........................................
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาบริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา กฎหมาย กฎหมาย โลกาภิวัตน์ สังคม สื่อมวลชน เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สาธารณสุข วัฒนธรรม ประชากร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี