1 / 49

ทฤษฎีเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

ทฤษฎีเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำ. ทฤษฎีเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำหลายเฟส. เครื่องจักรเหนี่ยวนำในอุดมคติ. เครื่องจักรเหนี่ยวนำ 3- เฟส ในอุดมคติ. แนวแกนของเส้นแรงแม่เหล็กของ Rotor แต่ละเฟสให้ทำมุม. กับแนวแกนของ Stator. = ความเร็วเชิงมุมของ Rotor.

osman
Download Presentation

ทฤษฎีเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำทฤษฎีเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

  2. ทฤษฎีเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำหลายเฟสทฤษฎีเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำหลายเฟส เครื่องจักรเหนี่ยวนำในอุดมคติ เครื่องจักรเหนี่ยวนำ 3-เฟส ในอุดมคติ แนวแกนของเส้นแรงแม่เหล็กของ Rotorแต่ละเฟสให้ทำมุม กับแนวแกนของ Stator =ความเร็วเชิงมุมของ Rotor

  3. การต่อและลักษณะการไหลของกระแสสำหรับเครื่องจักรเหนี่ยวนำ 3เฟส สำหรับ Slip sคงที่ =ความเร็วเชิงมุมทางไฟฟ้าของ Stator

  4. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแสในขดลวดทั้ง 6 ก็คือ Stator : Rotor:

  5. สมการของเส้นแรงแม่เหล็กที่คล้องระหว่างเฟสก็จะเป็นสมการของเส้นแรงแม่เหล็กที่คล้องระหว่างเฟสก็จะเป็น Stator:

  6. Rotor : ตอนนี้จะพิจารณาว่า

  7. ฉะนั้นในสมการของ Flux linkageของ Statorและ Rotorก็จะได้ Stator: Rotor: เมื่อให้

  8. การเปลี่ยนรูปตัวแปรให้เป็น dq เมื่อป้อนกระแสเข้าไปให้กับขดลวดStatorทั้ง 3-เฟส ค่า mmfในแนวแกน dและ qก็จะเป็น ตัวแปรของกระแสบน Statorตัวใหม่ก็จะเป็น เลือกค่า kd และ kqให้มีค่า 2/3 Componentsของ mmfก็จะได้เป็น

  9. กระแสในแนวแกน dและแกน qก็คือ เมื่อกลับความสัมพันธ์เพื่อหา iaibและ icก็ขะได้ การกระทำเหมือนกันนี้สามารถใช้ได้กับ Stator flux linkageและ Statorvoltage เช่นเดียวกับ Synchronous machines Note :

  10. เมื่อต้องการเปลี่ยนรูปของค่าใน Rotor ซึ่งเกี่ยวข้องกับการหมุน ด้วยความเร็วซิงโครนัสในแนวแกน dq ให้ เป็นมุมจากแนวแกนของ Rotor เฟส Aถึงแนวแกน d ถ้าRotor หมุนไปด้วย Slip sแนวแกน d ก็จะนำหน้าไปเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับจุดบน Rotor ด้วยอัตรา ให้ Subscript s บนมุม เป็นค่า Slip

  11. Component ของ Rotor-mmf ก็จะเป็น เมื่อใช้ Factorทั่วๆ ไป 2/3เหมือนกับใน Stator กระแสใน Rotor ส่วนที่เป็น dq ก็คือ เมื่อกลับความสัมพันธ์ก็จะได้

  12. Matrix form ก็จะเป็นเช่นเดียวกับ Synchronous machines คือ Stator :

  13. Rotor :

  14. ความสัมพันธ์ของเครื่องจักรในตัวแปรระบบ dq อาจจะแทนได้ด้วย มุม Flux linkage ในรูปของ dqบน Statorและ Rotorก็จะเป็น Stator : Rotor : เมื่อ

  15. แรงดันในเทอมของ dq ในรูปของ Flux linkage ก็จะเป็น Stator : Rotor : Slip angular velocityจะหาได้จาก เป็น +เมื่อเป็นMotor operation -เมื่อเป็นGenerator operation บน Statorปกติค่า Transformer voltageจะน้อยกว่า Speed voltageมากๆ จนละทิ้งได้

  16. กำลังชั่วขณะที่ป้อนให้กับ Stator ทั้งสามเฟสก็คือ สามารถเขียนในรูปของ dq ได้เป็น เมื่อเขียนในรูปของRotor ก็จะได้เป็น เป็นบวกRotor ก็จะเคลื่อนที่ถอยหลังเมื่อเทียบกับแนวแกนdq ฉะนั้นในเทอมของความเร็วก็คือ แรงบิด(เป็นบวกสำหรับการทำงานเป็นมอเตอร์) ก็คือ

  17. แรงบิดของความเฉื่อยที่ต้องการเพื่อไปทำให้เกิดอัตราเร่งของชิ้นส่วนที่จะหมุนก็คือแรงบิดของความเฉื่อยที่ต้องการเพื่อไปทำให้เกิดอัตราเร่งของชิ้นส่วนที่จะหมุนก็คือ เป็นมุมของตำแหน่งของเพลา เป็นความเร็วเชิงมุมของเพลา มุมนั้นวัดเป็นMechanical radians • การวิเคราะห์ในSteady state มอเตอร์ที่ทำงานในขณะที่ Slipคงที่ sกับแรงดันสมดุลที่ป้อนให้กับ Stator และขดลวด Rotor ถูกลัดวงจรเอาไว้ ให้กระแสใน Stator ทั้งสามเป็น

  18. จากการเปลี่ยนรูปเป็นค่าในแนวแกนdqจะได้จากการเปลี่ยนรูปเป็นค่าในแนวแกนdqจะได้ ผลในทำนองเดียวกันนี้อาจจะเขียนได้สำหรับแรงดันที่StatorและกระแสในRotor ต้องจำไว้ให้ดีว่าแนวแกน dจะวางอยู่ในแนวเดียวกับแนวแกนของเฟส aเมื่อเวลา กระแสในแต่ละเฟสบนStator ก็คือ หรือ

  19. สมการหลังสุดสามารถเขียนในรูปแบบของ Phasorได้เป็น เมื่อ แรงดันแต่ละเฟสบนStatorและกระแสแต่ละเฟสบนRotor ก็จะได้เป็น เมื่อ

  20. เมื่อแทนค่าสมการของ Flux linkageลงในสมการของแรงดันและให้ ผลก็คือ Stator: Rotor :

  21. รวมสมการของแรงดันบนStator เข้าด้วยกันก็จะได้ รวมสมการของแรงดันบนRotorเข้าด้วยกันก็จะได้ สองสมการนี้สามารถเขียนใหม่ได้เป็น หรือ

  22. และท้ายสุด ในสองสมการสุดท้าย ค่าทั้งหมดที่เทียบเป็นค่าทางด้านStator วงจรก็จะเป็นดังรูป

  23. จากสมการ เมื่อแรงดัน และTransformer voltage เป็นศูนย์ จะได้

  24. แทนค่าสองสมการหลังสุดนี้ลงในสมการของแรงบิดแทนค่าสองสมการหลังสุดนี้ลงในสมการของแรงบิด จะได้ Note : แรงบิดสำหรับเครื่องจักรที่มีเฟสของ Statorq1 phaseก็จะเป็น Note : Mechanical radian

  25. Steady state characteristic การวิเคราะห์จากวงจรเปรียบเทียบ กำลังงานกลนั้นมีค่าเท่ากับแรงบิดคูณกับความเร็วเชิงมุม ฉะนั้นกำลังงานกลภายในที่ถูกแปลงโดยมอเตอร์ก็คือ ความสูญเสียในตัวนำบนRotor กำลังงานที่ส่งผ่านข้ามช่องอากาศจากStator ไปยังRotor

  26. วงจรเปรียบเทียบจะนิยมเขียนให้เป็นดังรูปวงจรเปรียบเทียบจะนิยมเขียนให้เป็นดังรูป การใช้ Thevenin’s Theoremกับวงจรเปรียบเทียบ Thevenin’s theorem

  27. จากวงจรเปรียบเทียบ เมื่อทำให้ง่ายลงโดยใช้Thevenin’s theoremจะได้

  28. V1aเป็นแรงดันที่เกิดขึ้นระหว่างขั้ว aและbเมื่อปลดวงจรของ Rotorออกนั่นคือ เมื่อ I0เป็น Exciting currentขณะไม่มีโหลดและ อิมพีแดนซ์ระหว่างขั้วaและbเมื่อลัดวงจรแหล่งจ่ายแรงดันก็คือ เมื่อขนานกับ

  29. Torque-Slip Characteristic จากThevenin equivalent circuitจะเห็นว่าสมการของแรงบิดเป็น Slip-torque curve ก็จะเป็นดังรูป เครื่องจักรทำงานเป็นมอเตอร์ เครื่องจักรทำงานเป็นเครื่องกำเนิด

  30. แรงบิดภายในสูงสุด หรือ Breakdown torque Tmax เกิดขึ้นที่ Slipมีค่า smaxT Slip smaxTขณะที่แรงบิดสูงสุดก็คือ แรงบิดสูงสุดก็คือ

  31. Curve แสดงแรงบิด กำลังงาน และกระแส

  32. Slip-torque curveสำหรับมอเตอร์เหนี่ยวนำเมื่อความต้านทาน ในวงจรRotor เปลี่ยนแปลง

  33. Electrical Transientในเครื่องจักรไฟฟ้าเหนี่ยวนำ กระแสเริ่มแรกสำหรับการเกิดการลัดวงจรสามเฟส เพื่อหาค่าเริ่มต้นของกระแส จะละทิ้งความต้านทานของStator Transformer voltage บนStator และSpeed voltage บนRotor จะได้ Stator: Rotor: และ Note :

  34. จาก Flux linkageบน Rotor จะได้ และเมื่อแทนค่าจะได้ เมื่อ

  35. ในทำนองเดียวกัน กระแสเริ่มต้นเมื่อเกิดลัดวงจรจะเป็น กระแส rmsของStator ก็จะได้ เมื่อ

  36. ค่าrmsของ ซึ่งมีค่า การลดลงของกระแสลัดวงจร เมื่อ ให้ เป็น Transient time constantของวงจรRotor ค่าTime constant ของStatorก็จะกลายเป็น

  37. ลักษณะกระแสลัดวงจรในฟังก์ชันของเวลาซึ่งจะลดลงดังในรูปลักษณะกระแสลัดวงจรในฟังก์ชันของเวลาซึ่งจะลดลงดังในรูป วงจรเปรียบเทียบขณะTransient ค่ากระแสrmsเริ่มต้นของ การลัดวงจรก็จะกลายเป็น

  38. ขนาด rmsของกระแสลัดวงจรที่เวลา tใดๆ หลังจากลัดวงจรแล้วก็จะเป็น Induction Machine Dynamics เมื่อมอเตอร์เหนี่ยวนำมี Speed-torque curve ในขณะป้อนแรงดันตามพิกัด ดังในรูป เส้น Curveของแรงบิดต้องการเพื่อที่จะรักษาการหมุนของโหลดไว้ดังในรูป ความเฉื่อยของโหลดและ Rotor คือ

  39. จะแสดงให้เห็นว่าเส้น Curve ของความเร็วในฟังก์ชันของเวลานั้นจะสามารถหาได้ ที่ความเร็วใดๆ ของมอเตอร์ Mechanical radianต่อวินาที ความแตกต่างของแรงบิด ที่มอเตอร์ผลิตขึ้นมากับที่โหลดต้องการ เวลาที่ต้องการเพื่อให้มอเตอร์หมุน ก็คือ ในการ Integrateสามารถหาได้โดยวิธีเขียนกราฟ โดยการพล็อต ในฟังก์ชันของ และหาพื้นที่ระหว่างเส้น Curveและแกนของ ไปจนกระทั่งค่าที่เกี่ยวข้องถึงUpper limit ของการ Integrate ดังแสดงในรูป

  40. Speed-time curve ของมอเตอร์เหนี่ยวนำขณะเริ่มหมุน

  41. การควบคุมมอเตอร์2-เฟส ไดอะแกรมของการควบคุมมอเตอร์ 2-เฟส

  42. Speed-torque curveของมอเตอร์ควบคุม 2-เฟส

  43. ระบบSelf-synchronous

  44. คุณลักษณะของ Torque-angleของระบบขณะความเร็วเป็นศูนย์

  45. Maximum torque ของระบบ

  46. Single-phase Instrument Types

  47. Synchro Control Transformers

  48. แบบฝึกหัด 6.1, 6.4, 6.7, 6.8, 6.9, 6.16

More Related