1.61k likes | 3.19k Views
Internal Quality Audit. แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน. คำจำกัดความของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน.
E N D
แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายในแนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน คำจำกัดความของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน “ An audit is a systematic and independent examination to determine whether quality Related activities and related results comply with planned arrangements, and Whether these arrangements are implemented effectively” ความหมายของการตรวจติดตามภายใน (ISO 8402) “ การตรวจติดตาม เป็นกิจกรรมที่ทำอย่างเป็นระบบ และอิสระ เพื่อประเมินว่า กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพและผลที่ได้เป็นไปตามที่วางแผนไว้ และได้มีการ นำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ”
อิสระ (Independent) :ISO 9001 กำหนดไว้ว่าผู้ที่ทำ การตรวจสอบต้องไม่ได้เป็นเจ้าของพื้นที่ที่กำลังถูกตรวจสอบ เพื่อป้องกันไม่ให้ผลการตรวจสอบ เอนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง ระบบ (Systematic) :การตรวจสอบก็เช่นเดียวกันกับกิจกรรมอื่น ๆ ซึ่งต้องมีการวางแผนและการรายงานผลในรูปแบบที่เป็นระบบ หากขาดซึ่งระบบจะทำให้การตรวจสอบไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง การวางแผน (Plan Arrangement ) : การตรวจสอบต้องเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ไม่ว่าจะถูกกำหนดไว้ใน Procedure หรือ Work Instruction ก็ตาม แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การตีความจากนิยามการตรวจติดตามคุณภาพภายใน
แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายในแนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การตีความจากนิยามการตรวจติดตามคุณภาพภายใน (ต่อ) ประสิทธิผล (Effectively) : ส่วนของการตรวจประเมินที่สำคัญไม่เพียงแต่ให้พนักงานปฏิบัติตามคู่มือเท่านั้น แต่การบริหารกิจกรรมต่าง ๆอย่างถูกต้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด
“An audit is a systematic, independent and documented process for obtaining audit evidence and evaluating it objectively to determine the extent to which audit criteriaAre fulfilled.” แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน คำจำกัดความ/ ความหมายของการตรวจติดตามภายใน (ISO 19011) “การตรวจติดตามเป็นกระบวนการ ที่ทำอย่างเป็นระบบ มีอิสระ และเป็นเอกสาร ทั้งนี้เพื่อให้ได้มาซึ่ง หลักฐานที่เกิดขึ้นจากการทวนสอบ ในการตรวจติดตาม และประเมินว่า หลักฐานดังกล่าวถูก ประเมินอย่างมีเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า จะบรรลุผลตรงตามเกณฑ์การตรวจติดตาม ที่ได้กำหนดไว้.”
แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายในแนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การตีความจากนิยามการตรวจติดตามคุณภาพภายใน หลักฐานที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบ (Audit evidence ) : รายละเอียดที่เป็นบันทึก เอกสารแสดงข้อเท็จจริง หรือเอกสารอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบที่สามารถสอบกลับได้ เกณฑ์การตรวจติดตาม (Audit criteria ) : กลุ่มของนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ รวมถึงข้อกำหนดต่าง ๆ ที่ใช้ในการอ้างอิง
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน โครงสร้างของระบบบริหารงานคุณภาพ
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การตรวจประเมิน (Audit) จากนิยามของ “ การตรวจประเมิน” เห็นถึงนัยสำคัญหลายประการ • การตรวจประเมินต้องมีการวางแผน กระบวนการที่เป็นระบบ มีการเตรียม Check list (รายการคำถาม) • ผลการตรวจประเมินถูกทำเป็นเอกสารและบันทึก • การประเมินผลการตรวจประเมิน จะบอกถึงประสิทธิภาพของ ระบบบริหารคุณภาพและไม่ใช่การผ่านหรือไม่ผ่านของผลิตภัณฑ์
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน วัตถุประสงค์ของการตรวจประเมิน เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาซ้ำ เพื่อให้การปฏิบัติการแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพตามเวลาที่กำหนด เพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบบริหารงานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ประเภทของการตรวจประเมิน(ISO 19011) • การตรวจประเมินโดยองค์กรที่เป็นเจ้าของระบบ (First Party Audit) • การตรวจประเมินโดยองค์กรอื่น ก่อนหรือหลังมีสัญญาซื้อขาย (Second Party Audit) • การตรวจประเมินโดยองค์กรอิสระที่ได้รับมอบหมายอำนาจในการดำเนินการ • หรือการขอรับรองคุณภาพ (Third Party Audit)
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ผังอธิบายประเภทของการตรวจติดตาม Customer Org. 1st party 2nd party 3rd party Independence org. 2nd party ทำการตรวจสอบแทนลูกค้า 2nd party Supplier
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ลักษณะสำคัญของ First Party Audit • การตรวจประเมินระบบคุณภาพที่จัดทำขึ้นภายในองค์กรเพื่อตรวจสอบกันเอง • เกิดความมั่นใจในระบบคุณภาพที่ดำเนินการอยู่ เป็นตามเป้าหมาย • และภายในวัตถุประสงค์คุณภาพที่กำหนดไว้ • สามารถตรวจสอบโดยพนักงานขององค์กร แต่ผู้ตรวจจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับระบบ • ที่กำลังตรวจ หรือ เป็นนิติบุคคลจากภายนอก
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน The Customer 2nd Party The Company 1st Party ลักษณะสำคัญของ Second Party Audit 1. การตรวจติดตามโดยองค์กรอื่น เช่น ลูกค้าหรือผู้ที่ลูกค้าว่าจ้างก่อนทำสัญญาซื้อขาย ผลิตภัณฑ์หรือบริการ 2. เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าระบบคุณภาพขององค์กรที่ติดต่อด้วยมีความสามารถในการส่งผลิตภัณฑ์หรือบริการให้ได้ตามสัญญาและเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ลักษณะสำคัญของ Third Party Audit • ตรวจประเมินโดยองค์กรอิสระ ที่สามารถให้การรับรองระบบ • ระบบคุณภาพขององค์กรตามมาตรฐานของประเทศ และนานาชาติ เช่น ISO 9000 • ทวนสอบระบบคุณภาพขององค์กรว่าสอดคล้องกับมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 หรือไม่
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ผู้ตรวจประเมิน : Auditor ผมเป็น Auditor ครับ! “ บุคคลที่มีความสามารถดำเนินการตรวจประเมินได้และถูกมอบหมาย ให้ทำหน้าที่ตรวจประเมินบางส่วนของระบบ”
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน : Auditor qualification • 1. ต้องมีการศึกษาเหมาะสม • 2. มีการฝึกอบรม • 3. ประสบการณ์ทำงาน • รู้จักการวางแผนงาน • 5. รอบรู้เรื่องที่กำลังตรวจ • 6. รู้มาตรฐาน ISO9001 และ ISO19011 เป็นอย่างดี • 7. ตรวจกระบวนการมากกว่าวิธีการ • 8. รู้กฎ 8 ประการ และ Process Approach • 9. รู้จักวางแผนรัดกุม • 10. ทำความเข้าใจ process continual improvement
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน หน้าที่ของหัวหน้าผู้ตรวจประเมิน: Lead Auditor Response • สรรหาคณะผู้ตรวจประเมิน • เตรียมแผนการตรวจประเมิน • เป็นตัวแทนการตรวจประเมิน • ทำรายงานการตรวจประเมิน
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน หน้าที่ของผู้ตรวจประเมิน : Auditor Response • ทราบข้อกำหนดต่าง ๆ ในการตรวจประเมิน • เข้าใจและสามารถสื่อสารเกี่ยวกับความต้องการ ในการตรวจประเมิน • วางแผนและดำเนินงานการตามหน้าที่ได้รับมอบหมาย • ตรวจสอบเอกสาร ( documents review )
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน หน้าที่ของผู้ตรวจประเมิน : Auditor Response • เตรียม Checklist (รายการคำถาม) • สามารถประเมินประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ไขได้ • จัดเก็บและรักษาเอกสาร • (Retain and reserve document) • ให้ความร่วมมือและสนับสนุนหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน
Lead Auditor • รับผิดชอบทุกกระบวนการในการตรวจติดตาม • มีความสามารถในการจัดการ (Management capabilities) • มีประสบการณ์ (Experiences) • ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ตัดสินใจในการทำการตรวจประเมิน (Authority to make decisions regarding to audit conduct) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน คุณสมบัติ
กระบวนการตรวจประเมิน ต้องมีความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้ตรวจประเมินและผู้ถูกประเมินถึงความจำเป็นในการตรวจประเมิน และเข้าใจว่าอะไรจะเกิดขึ้น เมื่อทราบผลการประเมินแล้วต้องปฏิบัติการแก้ไขในสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ซึ่งแนวทางการปฏิบัติการแก้ไข ต้องสามารถทำได้และจัดการกับปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นอีก ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกันจัดการกับสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเพื่อไม่ให้ปัญหาเกิดซ้ำ การตรวจติดตามคุณภาพภายใน
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน องค์ประกอบสำคัญของการตรวจประเมิน Systematic : ทำอย่างเป็นระบบ Documented: มีการทำเป็นบันทึก Periodic : มีการดำเนินการตามช่วงเวลา Objective: มีความถูกต้องแม่นยำ
Develop Internal Audit Schedule การเตรียมการ (preparation) วางแผนการตรวจ ( Audit Planning ) A การตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน * ขึ้นกับความสำคัญและสถานภาพของแต่ละกิจกรรม* • ทบทวน คู่มือคุณภาพ,ระเบียบปฏิบัติงาน, คู่มือปฏิบัติงาน, นโยบายคุณภาพ • เลือกกิจกรรมการตรวจประเมินและขอบเขตการตรวจ • เลือกและจัดตั้งคณะผู้ตรวจประเมินเท่าที่จำเป็น • ทบทวน Audit report เก่า • เตรียม Check list และคู่มือการทำงาน • เตรียมการวางแผน Audit • Confirm ตารางการ Audit • พัฒนาแผนการ Audit • เตรียม Corrective action format • บ่งชี้ตัวบุคคลที่รับผิดชอบการทำ Audit Desktop avocet
A แจ้งตารางการตรวจประเมิน (Notification) การเปิดประชุม (Opening Meeting) On-site audit ทำการตรวจประเมิน (Conducting the Audit) ทำการปิดประชุม (Closing Meeting) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน (ต่อ) : กิจกรรมการตรวจประเมิน • Confirm กรอบเวลาในการตรวจ • Confirm วันเวลา สำหรับการเปิดประชุมกับหัวหน้า /ผู้จัดการแผนก • ติดต่อผู้จัดการในส่วนที่จะทำการ Audit • ตกลงให้ชัดเจนทั้ง 2 ฝ่าย ถึงวิธีการ • วัตถุประสงค์การตรวจ • ตกลงในการเลือกผู้นำ • ปรึกษาเรื่อง final report • กำหนดเวลาในการปิดประชุม
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน (ต่อ) : การเขียนรายงานและติดตามผล • ให้อธิบายวัตถุประสงค์การตรวจติดตามแต่ละพื้นที่ที่ทำการตรวจ • พิจารณา NC และจดบันทึกลงใน Work Sheet • ถ้ามี Auditor มากกว่า 1 คน ต้องประสานงานอย่างทำงานซ้ำซ้อน • นัดหมายการปิดประชุม รายงานผลการตรวจสอบ • สรุปว่ามีพื้นที่ใดบ้างที่ต้องทำการ Corrective action discuss corrective action plan • ทำตารางการตรวจติดตามครั้งต่อไป
Audit Report Corrective Action Follow-up to Issuance of Audit Report B การตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน (ต่อ) : การเขียนรายงานและติดตามผล • รวบรวมข้อมูลจากลูกทีม • เตรียม Audit Report • ทบทวนและ approve Audit Report • ออก Audit Report • กำหนดการทำ Corrective Action Plan และผลของCorrective Action ที่จะแล้วเสร็จ หน้าที่รับผิดชอบของผู้ถูกตรวจ (Auditee) ระบุตัวบุคคลที่แก้ไขปัญหา
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน (ต่อ) : การเขียนรายงานและติดตามผล • หน้าที่รับผิดชอบของผู้ตรวจ (Auditor) • - ประเมินผลการตอบสนองต่อ corrective action • - พิจารณาเห็นชอบว่าข้อบกพร่องนั้นถูกต้องหรือไม่ • - ประเมินประสิทธิผลของ Corrective Action • - บันทึกและเก็บเอกสาร • - ตอบข้อซักถามเมื่อ audit มีข้อสงสัย • ทำตาราง Re-audit เพื่อทวนสอบการปฏิบัติการแก้ไขและประสิทธิผล • - ทวนสอบประสิทธิผลและการทำ Corrective action ว่าเหมาะสมหรือไม่ • - ปิด CAR ถ้าแก้ไขได้ และดำเนินการออก CAR ใหม่ถ้าไม่เป็นที่พอใจและกำหนดตารางการตรวจซ้ำ B Follow-up Audit
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน กระบวนการตรวจประเมิน (ตาม ISO 19011) 3rd party Audit • - การติดต่อเบื้องต้น • - การตรวจประเมินเบื้องต้น • - การทบทวนเอกสาร • - การเตรียมการก่อนการตรวจประเมิน • - การกำหนดแผนการตรวจประเมิน • การประเมิน • การเปิดประชุม, การตรวจติดตาม , การประเมินผล, การปิดประชุม • - รายงานผล • - การปฏิบัติการแก้ไข • - การติดตามผลการแก้ไข และการตรวจติดตามเป็นระยะ ๆ
กระบวนการประเมิน ขั้นตอนที่ 1 ประเมินระบบเอกสาร (ตรวจสอบระบบเอกสารสอดคล้องตามมาตรฐานกำหนด) ขั้นตอนที่ 2 ประเมินระบบปฏิบัติการ(ระบบที่จัดทำขึ้นมีการนำไปปฏิบัติจริง ) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน
ตรวจประเมินระบบเอกสาร (desktop audit) • มีระบบเอกสารครบตามกำหนดในข้อกำหนดหรือไม่ • เป้าหมาย , นโยบายคุณภาพชัดเจนหรือไม่ • มีการทบทวน แก้ไข อนุมัติ ก่อนใช้หรือไม่ การตรวจติดตามคุณภาพภายใน
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน Objective Evidence หลักฐานที่เป็นความจริง พบได้จาก • การสังเกต • เอกสาร • คำบอกเล่าจากการสัมภาษณ์ • ไม่ใช่ ข้อคิดเห็นของผู้ตรวจประเมิน หลักฐานที่มีอยู่จริงที่สามารถทวนสอบ หรือพิสูจน์ให้ประจักษ์ได้
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การเตรียมการก่อนการตรวจประเมิน • * การพัฒนาและทำความเข้าใจในกิจกรรมที่ทำการตรวจ • * รวบรวมข้อมูล • การพัฒนาและทำความเข้าใจในกิจกรรม • : สิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ กำลังคนและความรู้ด้านเทคนิคของผู้ตรวจ • * ชี้บ่งกิจกรรมและกระบวนการ • * วิเคราะห์กระบวนการ (process analysis) • * หาข้อกำหนดของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องในกิจกรรม
แผนกขาย กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เวลาที่ใช้ • Internal audit ( 8.2.2 ) • Document control ( 4.2.3 ) • Customer complaint(8.5.2) • corrective action(8.5.2) • -Customer satisfaction( 8.2.1) • -Management Review(5.6.1+8.5.1) • -Record (4.2.4 ) • -Contract Review(7.2.2 ) • -Servicing (7.5.1 ) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน Process Analysis การวิเคราะห์กระบวนการหรือขั้นตอนการทำงานในแต่ละกิจกรรม
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การทำตารางการตรวจประเมิน สิ่งที่ควรทราบ 1. สถานที่ตั้ง 2. แผนผังบริเวณที่ทำการตรวจ 3. วัตถุประสงค์ในการตรวจ 4. ขนาด ( จำนวนบุคลากรและแผนก ) 5. ความสลับซับซ้อนของผลงานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน แผนการตรวจประเมิน ผู้รับผิดชอบ : หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน (Lead auditor) สิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์และทำแผน 1. ระยะเวลาในการตรวจ 2. จำนวนผู้ตรวจประเมิน 3. ผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้าน (Specialist) เป็นผู้ทราบกระบวนการแต่ไม่จำเป็นต้องผ่านการอบรมการตรวจประเมิน
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ตารางการตรวจประเมิน สิ่งสำคัญ 1.การเปิดประชุม (Opening Meeting) ( 0.5 ชม.) 2.การเตรียมการสำหรับการปิด ( 1 ชม. ) 3.การปิดประชุม ( 0.5 ชม.)
Auditor B Auditor A 1. Rubber sheet Inspection ( in-coming material) Time 08.15-08.45 Opening meeting Process 5&6 2. Washing of rubber sheets includes brushing Process 1&2 08.45-11.45 Auditor Interim Discussion 11.45-12.00 3. Hanging & allowing time to dry. Put on wooden racks 12.00-13.00 Lunch 4. Smoking to cure rubber sheets in a smoke chamber 13.00-17.00 Process 3&4 Process 7 17.00-17.15 Auditor Review 5. Clipping to remove impurities manuals, using scissors Closing Meeting 17.15-17.45 6. Grading the quality of smoked rubber sheets visual 7. Packing & Identification into customer-supplied metal casing การตรวจติดตามคุณภาพภายใน Stages /Activities
วัตถุประสงค์ของการเตรียม Check list • ใช้เป็นเครื่องช่วยจำในการตรวจติดตาม • ใช้เป็นแนวทางในการตรวจติดตาม • สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง การตรวจติดตามคุณภาพภายใน
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การเตรียม Checklist Checklist มี 2 ลักษณะ 1. High level checklist : คำถามปลายปิด ตอบ Yes หรือ No 2. Low level checklist : คำถามปลายเปิด what,where,when,why,who,how
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน High Level Check List Requirement ต้องมีการคัดเลือกและประเมินSupplier รายใหม่บนพื้นฐานของความสามารถที่จะตอบสนองต่อความต้องการขององค์กร • Checklist • - มีการคัดเลือกและประเมิน Supplier รายใหม่ บนพื้นฐานของความสามารถที่จะตอบสนองต่อความต้องการขององค์กรหรือไม่ • - Supplier รายใหม่จะถูก • ประเมินโดย Purchase Team หรือไม่? • Purchase Team ทำการประเมินผลงานอย่างต่อเนื่องของ Supplier หรือไม่? Intent Supplier รายใหม่จะถูกประเมินโดย Purchase Team การประเมินผลงาน ..............
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน Low level Checklist • ช่วยอธิบายวิธีการคัดเลือกและประเมิน Supplier • ขอดูระเบียบปฏิบัติในการคัดเลือก supplier • มีหลักเกณฑ์ในการประเมินอย่างไร • ขอดู Approved Vender List • ยืนยันได้อย่างไรว่า supplier ที่อยู่ใน AVL ผ่านการประเมิน • ฯลฯ.......
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน กิจกรรมการตรวจประเมิน * ทวนสอบว่ามีการจัดทำระบบ การนำไปปฏิบัติหรือไม่ * การปฏิบัติมีประสิทธิภาพหรือไม่
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน กิจกรรมระหว่างการตรวจประเมิน สิ่งที่ผู้ตรวจประเมินต้องการตรวจ ในระหว่างทำการตรวจประเมิน จำนวนตัวอย่างที่จะใช้ตรวจประเมิน (Audit Sample) เอกสาร , บันทึก เครื่องมือ,วัสดุ, ผลิตภัณฑ์
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การรวบรวมหลักฐาน (Collecting Evidences) • การสัมภาษณ์ • การตรวจสอบเอกสาร / ผลิตภัณฑ์ • การสังเกตการปฏิบัติงาน • การสังเกตสภาวะแวดล้อม / ระบบการจัดการภายใน
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน จะตรวจสอบอะไร? เอกสาร เครื่องมือ , อุปกรณ์ บุคลากร ผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบ
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน เอกสาร • รายงานข้อบกพร่อง • ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อเสีย • เอกสารการส่งมอบ • เอกสารการสั่งซื้อ • บันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างช่วง • ข้อมูลแผนการผลิตประจำ • ข้อมูลการตรวจสอบ • ข้อกำหนดผลิตภัณฑ์ • แผนงาน • วิธีการปฏิบัติ • ขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ผลการทดสอบ/ตรวจสอบ • รายงานการตรวจประเมิน • รายงานการประชุม • เอกสารสัญญา • ข้อกำหนดการออกแบบ
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน วัตถุดิบ • วัตถุดิบที่ถูกต้อง • การจัดเก็บ/เคลื่อนย้าย • การบ่งชี้ • ความถูกต้องในการนำไปใช้งาน • ข้อกำหนดของวันหมดอายุ • วิธีการทำงานที่เหมาะสม • การส่งกลับไปเก็บที่คลัง
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ผลิตภัณฑ์ • การชี้บ่ง • การจัดเก็บ • การเคลื่อนย้าย • การบรรจุ • ผลการทดสอบ • ผลการตรวจสอบ • การสอบกลับได้ • การสอดคล้องกับข้อกำหนด
การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน เครื่องมือ,อุปกรณ์ • เครื่องมือต้องถูกทวนสอบ • การจัดเก็บ • คู่มือการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ • การบำรุงรักษาที่เหมาะสม • ความถูกต้องในการใช้งาน • การแจกจ่าย • การบ่งชี้ • ผู้รับผิดชอบ(สอบเทียบ,ซ่อมบำรุง) เพียงพอ
บุคคล การตรวจติดตามคุณภาพภายใน • การฝึกอบรม • คุณสมบัติ • ความสามารถทางกายภาพ • ความคุ้นเคยวิธีการปฏิบัติงาน และขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ความตระหนักในหน้าที่ • จำนวนมีเพียงพอ • สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม