220 likes | 352 Views
ระบบฐานข้อมูล. อ.พลอยพรรณ สอนสุ วิทย์. 4.1 การจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูลแต่ก่อน. แฟ้มข้อมูล พนักงานขาย. ระบบเงินเดือน. สลิปเงินเดือน. แฟ้มข้อมูล ลูกค้า. รายงาน. ระบบบริการหลังการขาย. แฟ้มข้อมูล Suppliers. ใบสั่งซื้อ. ระบบสิน้าคงคลัง. ความซ้ำซ้อนของข้อมูลและความไม่เสมอภาคของข้อมูล.
E N D
ระบบฐานข้อมูล อ.พลอยพรรณ สอนสุวิทย์
4.1 การจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูลแต่ก่อน แฟ้มข้อมูล พนักงานขาย ระบบเงินเดือน สลิปเงินเดือน แฟ้มข้อมูล ลูกค้า รายงาน ระบบบริการหลังการขาย แฟ้มข้อมูล Suppliers ใบสั่งซื้อ ระบบสิน้าคงคลัง
ความซ้ำซ้อนของข้อมูลและความไม่เสมอภาคของข้อมูลความซ้ำซ้อนของข้อมูลและความไม่เสมอภาคของข้อมูล ข้อมูลซ้ำ: ปัญหาคือการ Add, Edit, Delete
ข้อมูลและการบริหารข้อมูลข้อมูลและการบริหารข้อมูล • การจัดเก็บข้อมูลแบบดั้งเดิม • โปรแกรมและข้อมูลไม่มีความเป็นอิสระต่อกัน
ข้อมูลและการบริหารข้อมูลข้อมูลและการบริหารข้อมูล • การจัดเก็บข้อมูลแบบดั้งเดิม • โปรแกรมและข้อมูลไม่มีความเป็นอิสระต่อกัน
4.2 การประมวลผลในลักษณะฐานข้อมูล ระบบเงินเดือน …… ข้อมูลพนักงานขาย ระบบจัดการ ฐานข้อมูล DBMS ระบบบริการหลังการขาย ข้อมูลลูกค้า …… ข้อมูล Supplier ระบบสินค้า คงคลัง …… คำอธิบายข้อมูล DBMS = Database Management System
ความหมายของฐานข้อมูล • ฐานข้อมูล ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกนำมาใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ด้านธนาคาร จะมีฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเงินฝาก ข้อมูลการให้สินเชื่อ งานด้านการรักษาพยาบาล ก็จะมีฐานข้อมูลประวัติคนไข้ งานด้านการตลาดก็จะมีฐานข้อมูลลูกค้า ประวัติพนักงานขาย เป็นต้น • องค์ประกอบของฐานข้อมูล • Hardware หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีหน่วยความจำหลัก หน่วยความจำสำรอง หน่วยประมวลผล อุปกรณ์ input, output เป็นต้น
Software หรือโปรแกรม เป็นสิ่งที่ใช้ประมวลผลฐานข้อมูลเหล่านั้น มักเรียกรวมกันว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System หรือ DBMS) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ หมวดหมู่ สามารถเรียกดู เพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลได้ • ข้อมูล (Data) ข้อมูลคือสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการเรียกใช้ จัดเก็บ เพิ่มเติม แก้ไข ข้อมูลในลักษณะเป็นฐานข้อมูลจะถูกเรียกใช้ร่วมกันได้ ระหว่างผู้ใช้งานต่างกัน • บุคลากร คือผู้ใช้ฐานข้อมูล มีผู้ใช้เกี่ยวข้องกันดังนี้
ผู้ใช้ทั่วไป เป็นผู้ที่ต้องใช้ฐานข้อมูลจากระบบงาน เพื่อให้ทำงานสำเร็จ เช่น พนักงานในห้างสรรพสินค้าในระดับแสกนบาร์โค้ด • พนักงานปฏิบัติการ ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูล คอยป้อนข้อมูลเข้า แก้ไข ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง เฝ้าระวัง • นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เป็นผู้ที่วิเคราะห์ระบบฐานข้อมูลและออกแบบระบบงานที่จะนำมาใช้ • ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน เขียนโปรแกรมเพื่อเก็บ เรียกใช้ข้อมูล และงานอื่นๆ ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ • ผู้บริหารฐานข้อมูล เป็นผู้ที่ต้องตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรไว้บ้างในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด ใช้เทคนิคใดเรียกดู กำหนดระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูล สำรอง กู้คืน กำหนดระดับสิทธิ์การเข้าใช้ เป็นต้น
ข้อดี • หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล (ข้อมูลตรงกัน) • สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ • ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล • รักษาความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูล • การกรอกข้อมูลลงฐานข้อมูลสามารกำหนดชนิดอักขระที่ต้องการได้ • กำหนดความเป็นมาตรฐานของข้อมูลได้ • สามารถกำหนดให้เป็นฟอร์มเดียวกันได้ เช่นโครงสร้างข้อมูล ประเภทข้อมูลที่จัดเก็บ • กำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ • กำหนดสิทธิการรียกใช้ที่แตกต่างกันได้ • ข้อมูลและโปรแกรมเป็นอิสระต่อกัน • DBMS อิสระจากฐานแฟ้มข้อมูล
ข้อเสีย • มีต้นทุนสูง: Hardware/ ระบบเครือข่าย Software, บุคลากร • มีความซับซ้อน : การเริ่มใช้ฐานข้อมูลมีความซับซ้อน ยากต่อการเข้าใจ ตั้งแต่การออกแบบระบบ การวางโครงสร้างข้อมูล การเขียนโปรแกรม • เสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ
การจัดการฐานข้อมูล • ลำดับชั้นของข้อมูล ในระบบสารสนเทศทั่วไปมีการจัดลำดับชั้นข้อมูลเรียงจากเล็กไปหาใหญ่ดังนี้ • บิต (Binary digit: Bit) จะมีสองสถานะคือ 0, 1 • ไบต์ (Byte) ไบต์หนึ่งๆจะประกอบด้วยหลายบิต ซึ่งปกติคือตัวเลข ตัวอักษร และเครื่องหมายต่างๆ เช่น อักษร H ประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 8 บิต คือ 10010001 (ASCII) • ฟิลด์ (Field) คือข้อมูลจำนวนหนึ่ง ประกอบด้วยไบต์หลายๆไบต์มารวมกัน • เรคคอร์ด (Record) คือหลายๆฟิลด์มารวมกัน • แฟ้มข้อมูล (File) คือการรวมหลายๆ Record ที่เกี่ยวข้องกัน • ฐานข้อมูล (Database) คือการรวมแฟ้มข้อมูลหลายๆแฟ้ม
ลำดับโครงสร้างข้อมูล • Field • Record
ประเด็นในการบริหารฐานข้อมูลประเด็นในการบริหารฐานข้อมูล • ความสามารถเข้าถึงข้อมูล • มีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล • สามารถเปลี่ยนแปลง แก้ไขได้ • สามารถแบ่งส่วนได้ • สามารถติดต่อ ประสานกับผู้ใช้ได้
การออกแบบฐานข้อมูลและแนวคิดการออกแบบฐานข้อมูลและแนวคิด PK แฟ้มเครื่องจักร แฟ้มการซ่อม FK
ประเด็นหลักในการบริหารฐานข้อมูลประเด็นหลักในการบริหารฐานข้อมูล • ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล (Access) • มีความง่าย รวดเร็ว และถูกต้อง ต้องมีการกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้ตามลำดับ • มีระบบความปบอดภัยของข้อมูล (Data Security) • ข้อมูลที่จัดเก็บต้องพิจารณาถึงความปลอดภัยในการดแลรักษาให้ปราศจากการจารกรรม • สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ (Edit) • การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ตามสถานการณ์ จึงต้องออกแบบเพื่อรองรับการแก้ไข ปรับปรุง • สามารถแบ่งส่วนได้ (Partition) • ง่ายต่อการปรับปรุง ในลักษณะ Relational Database • ส่วนต่อประสานผู้ใช้ (User Interface) • มีส่วนติดต่อผู้ใช้ในการจัดการฐานข้อมูลได้
ระบบจัดการฐานข้อมูล • มีหน้าที่บริหารแหล่งข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ที่ศูนย์กลางเพื่อตอบสนองผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ลดพื้นที่ในการจัดเก็บ และความขัดแย้งข้อมูล มีองค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้ • ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language: DDL) เป็นภาษาที่นักเขียนโปแกรมใช้สร้างเนื้อหาข้อมูล โครงสร้างข้อมูล เช่น คำสั่งที่กำหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามี Field อะไรบ้าง เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่ม Field การกำหนดดัชนี เป็นต้น • ภาษาการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language: DML) เป็นภาษาเฉพาะที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ SQL แต่ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มักใช้ภาษา COBAL, Fortran • พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) เป็นเครื่องมือสำหรับการเก็บและบำรุงรักษาข้อมูลในฐานข้อมูล เช่น ชื่อ Field ชื่อโปรแกรมที่ใช้ รายละเอียดข้อมูล ผู้มีสิทธิใช้และรับผิดชอบ
ส่วนประกอบของระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนประกอบของระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบงานสินค้าคงคลัง ฐานข้อมูลกายภาพ DDL DML ระบบงาน Call Center Data Dictionary ระบบงานสินค้าคงคลัง
การออกแบบฐานข้อมูลแบบ Relational Database • มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independent) และความเป็นอิสระของโครงสร้างข้อมูลในแต่ละระดับ (Structural Independent) กล่าวคือ โปรแกรมประยุกต์ใช้งานจะไม่ถูกกระทบ หากมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการจัดเก็บและเรียกใช้ • นอกจากนี้ยังช่วยลดความซ้ำซ้อน ปัญหาที่เกิดจากการปรับปรุง เพิ่ม ลบ ข้อมูล
โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relation คือ ตารางสองมิติ ประกอบไปด้วยคอลัมน์และแถว คอลัมน์ เรียก Field เป็นคุณสมบัติของ Relation ได้แก่ Bno Street …. Fax No แถวแต่ละแถวในแต่ละ Relation เรียก Record เป็นข้อมูล ดีกรีคือ Record เป็นจำนวน Field เช่น จากตารางมีจำนวน 7 ดีกรี
โดเมน คือ การกำหนดขอบเขตค่าของข้อมูล และชนิดของข้อมูลในแต่ละ Field เช่น โดเมน กำหนดให้ใส่ค่าได้เป็นตัวอักษรท่านั้น โดเมน กำหนดให้ใส่ค่าได้เป็นตัวเลขเท่านั้น
ตัวอย่างจากโปรแกรม phpMyAdmin