190 likes | 596 Views
การเก็บสิ่งส่งตรวจ. ทางห้องปฏิบัติการทางการ แพทย์ โรงพยาบาลวัดเพลง. วงจรห้องปฏิบัติการ. C Pre-analytical E
E N D
การเก็บสิ่งส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ โรงพยาบาลวัดเพลง
วงจรห้องปฏิบัติการ C Pre-analytical E A B ผู้ป่วย แพทย์ / Analytical พยาบาล F Post-analytical D • A = มีความเจ็บป่วย • B = ทำการรักษา ตรวจร่างกาย • C = สั่งตรวจตามข้อบ่งชี้ • D = รับผลการตรวจวิเคราะห์ • E = เก็บสิ่งส่งตรวจ • F = ตรวจวิเคราะห์ตามระบบ
Pre-analytical phase • การเลือกประเมินวิธีการทดสอบที่เหมาะสม • การเตรียมตัวผู้ป่วยก่อนเจาะเลือด และสารคัดหลั่งอื่น ๆ • เจาะเลือดถูกคน ตรวจสอบชื่อ สลากชื่อและใบ request ให้ตรงกัน • นำส่งห้อง lab ตามเวลาที่กำหนด • จัดส่งและจัดเก็บสารตัวอย่างให้เหมาะสม
Analytical Phase • ทำ IQC / EQC • ตรวจสอบ Regent ก่อนการตรวจวิเคราะห์ • การ Maintanance เครื่องมือตามข้อกำหนด และติดตามเป็นระยะๆ • การตรวจสอบคุณภาพมักพิจารณาจากสารควบคุมคุณภาพ
Post-analytical • กำหนด Reference interval ที่ถูกต้อง • ตรวจสอบการคำนวณ • ทบทวนผลการตรวจวิเคราะห์ • รายงานค่าวิกฤตทันที ที่พบ • รายงานผลทันทีที่ขอผลด่วน (CBC, BUN, Cr, Electrolyte ประกันเวลาที่ 30 นาที) • การตรวจสอบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ • มีการติดต่อกันอยู่เสมอระหว่างห้องปฏิบัติการกับผู้ใช้บริการ
Specimen Collection and Processing ความสำคัญของการจัดเก็บและจัดการกับสิ่งส่งตรวจ
Specimen Collection and Processing ลำดับขั้นตอนการเจาะเลือด • Identify • สอบถามข้อมูลที่จำเป็นของผู้ป่วย • ตรวจสอบใบ Request • จัดท่าผู้ป่วย เลือกตำแหน่งที่เหมาะสมแก่การเจาะเลือด • เตรียมอุปกรณ์เจาะเลือด • ทำการเจาะเลือด • การเก็บตัวอย่างเลือดในหลอดเก็บตัวอย่างให้ถูกต้อง • ทิ้งหัวเข็ม และอุปกรณ์ในภาชนะอย่างถูกต้อง • ชี้บ่งหลอดตัวอย่างเลือดทันที • ส่งสิ่งส่งตรวจพร้อมใบ Request ไปยังห้องปฏิบัติการทันที
SpecimenCollectionandProcessing Order of tube draw for specimen collection • Sterile blood-culture tube • Nonadditive tube (Red stopper) • Coagulation tube (light blue stopper) • Additive tube - Heparin (dark green stopper) - EDTA (lavender stopper) - Oxalate / Fluoride (light gray stopper) หมายเหตุหลอดที่มีสารกันเลือดแข็งควรผสมให้เข้ากันทันที โดยพลิกไปมา 8-10 ครั้ง
Specimen Collection and Processing Venipuncture ข้อพึงระวัง • หลีกเลี่ยงบริเวณที่มี Hematoma • หลีกเลี่ยงรอยเจาะเดิม เพราะจะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ • ต้องเลี่ยงแขนข้างเดียวกับที่ทำ mastectomy • ต้องเลี่ยงแขนที่กำลังให้สารน้ำ (intravenous fluid)
Specimen Collection and Processing Venipuncture procedure 1. จัดผู้ป่วยให้นั่งหรือนอนสบาย 2. รัด tourniquet 3-4 นิ้ว เหนือที่เจาะ 3. ให้ผู้ป่วยกำมือ เพื่อให้เห็นเส้นเลือดขัดเจนขึ้น 4. คลำหาเส้นเลือด 5. ทำความสะอาดด้วย 70%alcohol โดยวิธีหมุนออกด้านนอก 6. ทำการเจาะเลือดโดยแทงเข็ม 15-30 องศา 7. คลาย tourniquet ออกพร้อมคลายมือผู้ป่วย และปิดแผล 8. บรรจุเลือดใส่ภาชนะที่เตรียมไว้ 9. ทิ้งหัวเข็ม และอุปกรณ์ในภาชนะอย่างถูกต้อง 10. ชี้บ่งหลอดตัวอย่างเลือดทันที
Specimen Collection and Processing ข้อควรระวัง • อย่ารัด tourniquet นานเกินไป จะทำให้เกิด hemoconcentation ได้ • ป้องกันไม่ให้เกิด hematoma โดยต้องให้ปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดเสมอ • ป้องกันตัวอย่างเลือดไม่ให้เกิด hemolysis
Specimen Collection and Processing Effects of Hemolysis on Chemistry Test • Increse caused by release from red blood cell K, Mg, LDH, AST, Total protein, Iron, PO4, Ammonium • Increase caused by interference in assay Chol, Tri, CPK, CK-MB • Decrease cauase by interference assay Bilirubin, carotein, insulin, albumin
Specimen Collection and Processing การเก็บตัวอย่างปัสสาวะ • Random urine = pH, Glucose, Protein, sp.gr. • First morning urine = hormone • Time urine collection หมายเหตุ ในการเก็บปัสสาวะควรเก็บแบบ midstream urineปริมาณ 50 ml และอยู่ในฝาปิดป้องกันหกเปื้อน