450 likes | 2.35k Views
กลุ่ม Echinostomes. Family Echinostomatidae - ได้แก่ Echinostoma malayanum Echinostoma revolutum Echinostoma ilocanum Hypodereaum conoideum. เป็นพวกที่มี spined รอบ collar เรียก ว่า Horseshoe-shaped-collar
E N D
กลุ่ม Echinostomes Family Echinostomatidae - ได้แก่ Echinostoma malayanum Echinostoma revolutum Echinostoma ilocanum Hypodereaum conoideum
เป็นพวกที่มี spined รอบ collar เรียก ว่า Horseshoe-shaped-collar • แต่ละชนิดแตกต่างกันที่ spine รูปร่างของ testes และชนิดของ Intermediate host • พบว่านอกจากคนแล้ว definitive host ได้แก่ สุนัข และสัตว์ ปีก
การแพร่กระจาย (Distribution) • พบแถวตะวันออกไกล และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
รูปร่าง (Morphology) - เป็นพยาธิใบไม้ขนาดกลาง - ลักษณะที่สำคัญของพยาธิตัวเต็มวัย ส่วนหัวมีลักษณะที่เรียกว่า Horseshoe-shaped-collar (สามารถใช้ใน การแยกชนิดพยาธิได้)
ส่วนหัวของพยาธิ Echinostoma spp. (ประยงค์ ระดมยศ และคณะ 2535)
Testes อยู่บริเวณครึ่งล่างของลำตัว (ส่วน posterior) รูปร่างแตกต่างกันไปในแต่ละชนิด ดังนี้ • Echinostoma malayanumBranch • Echinostoma revolutumOval • Echinostoma ilocanum Lobed • Hypodereaum conoideum Elongate-oval
E. ilocanum E. malayanum E.revolutum (Radomyos et al., 1997)
วงชีวิต (Life cycle) • ตัวแก่อาศัยอยู่ในลำไส้เล็ก ของสัตว์จำพวก นก เป็ด ไก่ หนู สุนัข และคน • พยาธิออกไข่ ปนกับอุจจาระ ออกสู่ภายนอกร่างกาย • ไข่มีขนาด เล็กกว่า F. buski (ประมาณ 90-100 X 50-70 um) • ตัวอ่อนระยะ miracidium ไชเข้าหอย (แตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิด)
cercaria เปลี่ยนเป็น metacercaria โดยมีโฮสต์ (2 nd I.H.) ต่างกันไปในแต่ละชนิด • พยาธิสภาพ (Pathology) • มีความผิดปกติในระบบ G.I. Tract
อาการ (Sign and Symtom) • ปวดท้อง • Diarrhea • การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) • ตรวจหาไข่ในอุจจาระผู้ป่วย
Haplochis spp. • เป็นพยาธิใบไม้ ที่มีขนาดเล็ก • รูปร่าง (Morphology) • ลักษณะพิเศษมี Testes 1 อัน (Haplo = 1 , orchis = testes) • มี sucker พิเศษ เรียกว่า Gonotyl
Haplochis taichui Haplochis pumilio (Radomyos et al., 1997)
Ventral sucker (Gonotyl) (Radomyos et al., 1997)
วงชีวิต (Life cycle) • Adult worm อยู่ในลำไส้คน หรือ สัตว์ (Definitive host) • 1st Intermediate host คือ หอยน้ำจืด (มีรายงานว่าเป็นหอยชนิด Melanoides tuberculata) • 2nd Intermediate host คือ ปลาน้ำจืด ใน Family Cyprinidae
Adult worm ใน Definitive host ไข่ ลงน้ำ หอย I.H. กิน ไข่พยาธิ ได้ miracidium cercaria ว่ายน้ำออกจากหอย ไชเข้าปลาน้ำจืด เป็น metacercaria ในปลา
พยาธิสภาพ (Pathology) - อาการของโรคขึ้นอยู่กับจำนวนปรสิตในร่างกาย - มีรายงานว่าสามารถทำให้เกิด Superficial necrosis of mucosa (เกิดการหลุดตายของเนื้อเยื่อ) ทำให้ถ่ายเป็นมูก - ไข่ของพยาธิสามารถหลุดเข้ากระแสเลือด (ทาง mesenteric venules) และไปยังหัวใจ สมอง และ ไขสันหลัง
ถ้าไข่พยาธิไปที่หัวใจสามารถทำให้เกิด Acute dilatation ทำให้มีอาการคล้าย Cardiac beri-beri • ถ้าไปที่สมอง ทำให้เกิด Cerebral hemorrhage • พบมีรายงานว่า พยาธิตัวแก่สามารถหลุด เข้าไปในกระแสเลือดได้
การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) • ตรวจหาไข่พยาธิ • ขนาด ประมาณ 28 X 14 um • ไข่มี operculum มี knob (ด้าน posterior end) • การรักษา (Treatment) • - มีรายงานการให้ยา Tetrachlorethylene • อาจให้ยา Praziquantel
Operculum Knob
Metacercaria อยู่ในเนื้อปลา (Radomyos et al., 1997)
การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) • 1. ป้องกันการกินอาหารที่ไม่สุก โดย • เฉพาะปลาดิบ • 2. จัดการสุขาภิบาลให้ดี • 3. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง
Heterophyes heterophyes - ทำให้เกิดโรค Heterophyiasis - พบครั้งแรก โดย Bilharz ปี 1851 การแพร่กระจาย (Distribution) - พบแถวลุ่มน้ำไนล์ อียิปต์ ตุรกี - แถวตะวันออก พบในประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลี จีน ไต้หวัน ฟิลิปปินส์
รูปร่าง (Morphology) • ขนาดเล็กมาก หัวเรียว หางป้าน • ความยาว ไม่เกิน 2 mm • กว้าง ประมาณ ½ mm • วงชีวิต (Life cycle) • Adult worm อาศัยอยู่ในลำไส้ของโฮสต์ • ไข่ถูกหอยกินเข้าไป • second intermediat host คือ ปลาน้ำกร่อย
Heterophyes heterophyes • (Radomyos et al., 1997)
พยาธิสภาพ (Pathology) - ทำให้เยื่อเมือกลำไส้อักเสบเน่าและหลุดลอก - พบการพลัดหลงของไข่ไปยัง circulation ไปสู่ organ ต่างๆทำให้ถึงตายได้ อาการ (Sign and Symtom) - ผู้ป่วยมีอาการปวดท้อง กดเจ็บ ท้องเสีย - อุจจาระมีมูก บางทีมีเลือด ถ้ามีพยาธิมาก อาการจะคล้ายเป็นบิด
การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) • ตรวจหาไข่พยาธิในอุจจาระ • การรักษา (Treatment) • 1. Tetrachlorethylene • 2. Niclosamide • 3. Praziquantel
การควบคุมและป้องกัน • Control and Prevention) • 1. ไม่รับประทานปลาดิบในท้องถิ่นที่มีพยาธิ • 2. จัดการสุขาภิบาลให้ดี • 3. ให้ความรู้กับประชาชน
Metagonimus yokogawai • - มีรายงานในประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลี • แมนจูเรีย จีน ไต้หวัน ไซบีเรีย • - ไม่มีรายงานว่าพบในประเทศไทย (Radomyos et al., 1997)
Phaneropsolus bonnei • - พบครั้งแรกปี ค.ศ. 1951 ที่ประเทศ อินโดนีเซีย • - ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดอุดรธานี ค.ศ. 1969 โดย Manning , G.S.จากการ Autopsy ผู้ป่วย ที่ตาย จาก Liver fluke infection • - วงชีวิต ยังไม่ทราบแน่นอน เชื่อว่า 2nd I.H. คือ Naiad (ตัวอ่อนของแมลงปอ)
Prosthodendrium molenkampi • - พบพยาธิชนิดนี้จากการ Autopsy • ผู้ป่วยที่เป็น Liver fluke • - เชื่อว่ามีวงชีวิตคล้าย Phaneropsolus bonnei • - 2nd I.H. คือ Naiad (ตัวอ่อนของแมลงปอ)
Phaneropsolus bonnei Prosthodendrium molenkampi (Radomyos et al., 1997)
ตัวอ่อนแมลงปอ (naiad) (Radomyos et al., 1997)
เอกสารอ้างอิง ประยงค์ ระดมยศ ,อัญชลี ตั้งตรงจิตร, พลรัตน์ วิไลรัตน์, ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ และ แทน จงศุภชัยสิทธ์. 2538. Atlas of Medical Parasitology with 456 colour illustrations 2nd edition กรุงเทพฯ 171หน้า.