1 / 80

นายเกริกเกียรติ์ เอกพจน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมจริยธรรม สำนักงาน ก.พ. กรรมการบริหารมูลนิธิประเทศไทย ใสสะอาด

การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท : มาตรฐานทางจริยธรรมสู่การปฏิบัติ เพื่อราชการใสสะอาด. โดย. นายเกริกเกียรติ์ เอกพจน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมจริยธรรม สำนักงาน ก.พ. กรรมการบริหารมูลนิธิประเทศไทย ใสสะอาด. ข้อมูลของสำนักงาน ก.พ. . Corruption Perceptions Index 200 7. CPI 2007 Score.

ovid
Download Presentation

นายเกริกเกียรติ์ เอกพจน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมจริยธรรม สำนักงาน ก.พ. กรรมการบริหารมูลนิธิประเทศไทย ใสสะอาด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท : มาตรฐานทางจริยธรรมสู่การปฏิบัติ เพื่อราชการใสสะอาด โดย • นายเกริกเกียรติ์ เอกพจน์ • ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมจริยธรรม สำนักงาน ก.พ. • กรรมการบริหารมูลนิธิประเทศไทย ใสสะอาด ข้อมูลของสำนักงาน ก.พ.

  2. Corruption Perceptions Index 2007 CPI 2007 Score CPI 2007 Score Rank Country Rank Country 1 Denmark 9.4 84 Thailand 3.3 1 Finland 9.4 131 Philippines 2.5 1 New Zealand 9.4 143 Indonesia 2.3 4 Singapore 9.3 162 Cambodia 2.0 4 Sweden 9.3 168 Lao 1.9 12 United Kingdom 8.4 10 = Highly clean 0 = Highly corrupt 14 Hong Kong 8.3 17 Japan 7.5 43 5.1 Malaysia Transparency International 43 5.1 South Korea

  3. The Corruption Perception Index (CPI) by TI THAILAND’s Rank Year Rank CPI Coverage (countries) 1997 3.33 37 52 1996 3.06 39 54 1998 3.00 61 85 1999 3.20 68 99 2000 3.20 68 98 2001 3.20 61 91 10 Points = Most Transparent 0 Point = Most Corruption 2002 3.20 64 102 2003 3.30 70 133 2004 3.60 64 145 2005 3.80 59 158 2006 3.60 63 163 2007 3.30 84 179

  4. ทศพิธราชธรรม ๑. ทาน ให้ทาน ๒. ศีล รักษาศีล ๓. ปริจจาคะ สละประโยชน์ส่วนตน ๔. อาชชวะ ซื่อตรงต่อตนเองและผู้อื่น ๕. มัททวะ อ่อนโยน มีสัมมาคารวะ ๖. ตปะ พากเพียรไม่เกียจคร้าน ๗. อักโกธะ ระงับความโกรธ ๘. อวิหิงสา ไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ อดทน ๑๐. อวิโรธนะ แน่วแน่ในความถูกต้อง

  5. โครงการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาทโครงการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท www.tamroy.or.th • เพื่อให้ข้าราชการมีจิตสำนึก ทัศนคติ พฤติกรรมในการ ทำงานเพื่อประชาชน เป็นข้าราชการที่ประพฤติปฏิบัติ ตามรอยพระยุคลบาท • เพื่อเชิญชวนให้ข้าราชการมีความมุ่งมั่นรักษาและเพิ่ม การทำความดียิ่งขึ้นตลอดไป ถวายเป็นราชสักการะแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

  6. “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” พระปฐมบรมราชโองการ วันพระราชพิธีบรมราชาภิเษก วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓

  7. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไรเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร “...คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย. ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ- มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...” (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

  8. ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีเหตุผล นำไปสู่ ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญา ขยันอดทน แบ่งปัน)

  9. ประโยชน์ของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ประโยชน์ของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ • ชีวิตและกิจการมีความสมดุลทั้งยามปกติ และยามวิกฤติ • มีภูมิคุ้มกันหรือความเข้มแข็ง พร้อมรับ ผลกระทบจาการเปลี่ยนแปลง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม • ชีวิตและกิจการเจริญรุดหน้าไปอย่างมั่นคง

  10. ผลการปฏิบัติตามแนวทาง”เศรษฐกิจพอเพียง”ผลการปฏิบัติตามแนวทาง”เศรษฐกิจพอเพียง” • ชีวิต – หน้าที่การงานเกิด “สมดุล” • บุคคล – ครอบครัว –องค์การ – ชุมชน • และประเทศชาติมีความเข้มแข็งพร้อมรับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก • และภายในได้เป็นอย่างดี

  11. แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ ๒. การปรับเปลี่ยนระบบ งบประมาณ การเงิน และการพัสดุ ๑. การปรับเปลี่ยน บทบาท ภารกิจ วิธีการบริหารงาน ของภาครัฐ ๓. การปรับเปลี่ยน ระบบบริหารบุคคล ๔. การปรับเปลี่ยน กฎหมาย ๕. การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม

  12. การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยมการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม ๑. จัดทำค่านิยมสร้างสรรค์ / จรรยาบรรณ ๒. ปรับกระบวนทัศน์เจ้าหน้าที่ ๓. รณรงค์และส่งเสริมค่านิยม / จรรยาบรรณ ๔. ปรับปรุงกระบวนการให้รางวัล / ลงโทษ ๕. สร้างฐานข้อมูลเรื่องคอรัปชั่น ๖. รณรงค์ลดการทุจริต ประพฤติมิชอบในภาครัฐ ๗. สร้างระบบคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล

  13. ค่านิยมสร้างสรรค์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐค่านิยมสร้างสรรค์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ คณะอนุกรรมการปรับปรุงวัฒนธรรมและค่านิยมฯ ๑. กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง ๒. ซื่อสัตย์และรับผิดชอบ ๓. โปร่งใส ตรวจสอบได้ ๔. ไม่เลือกปฏิบัติ ๕. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

  14. ๑. กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง Moral Courage • ยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม • เสียสละ • อดทน • ยึดหลักวิชาและจรรยาวิชาชีพ • ไม่โอนอ่อนตามอิทธิพลใดๆ

  15. ๒. ซื่อสัตย์ และมีความรับผิดชอบ Integrity & Responsibility • ปฏิบัติหน้าที่อย่างตรงไปตรงมา • แยกเรื่องส่วนตัวออกจากหน้าที่การงาน • มีความรับผิดชอบต่อประชาชน ต่อผลการปฏิบัติงาน และต่อการพัฒนาปรับปรุงระบบราชการ

  16. ๓. โปร่งใส ตรวจสอบได้ Transparency & Accountability • ปรับปรุงกลไกการทำงานของ องค์การให้มีความโปร่งใส • มีวิธีการให้ประชาชนตรวจสอบได้ • เปิดเผยข้อมูลข่าวสารภายใน ขอบเขตของกฎหมาย

  17. ๔. ไม่เลือกปฏิบัติ Nondiscrimination • บริการประชาชนด้วยความเสมอภาค เน้นความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดและถูกต้อง • ปฏิบัติต่อผู้มารับบริการด้วยความมี น้ำใจ เมตตา เอื้อเฟื้อ

  18. ๕. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน Result Orientation • ทำงานให้แล้วเสร็จตามกำหนด เกิดผลดีต่อหน่วยงานและส่วนรวม • ใช้ทรัพยากรของราชการให้คุ้มค่า เสมือนหนึ่งการใช้ทรัพยากรของตนเอง • เน้นการทำงานโดยยึดผลลัพธ์เป็นหลัก มีการวัดผลลัพธ์และค่าใช้จ่าย

  19. คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ นโยบายการบริหารจัดการที่ดี : ประสิทธิภาพการบริหารราชการ ข้อ ๘.๑.๕ การเสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรมจริยธรรมให้กับ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ และพัฒนาความโปร่งใสในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ พร้อมทั้งป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติ มิชอบของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างจริงจัง เพื่อให้ ราชการเป็นที่เชื่อถือไว้วางใจของประชาชน

  20. คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ ได้กำหนดให้สำนักงาน ก.พ. รับผิดชอบในภารกิจ สำคัญ ๒ ประการ คือ ๑) การเสริมสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมในการ ต่อต้านการทุจริตเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ๒) การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและการรักษาจรรยาข้าราชการ

  21. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรา ๒๗๙มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภทให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กำหนดขึ้น มาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีกลไกและระบบในการดำเนินงานเพื่อให้การบังคับใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกำหนดขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทำ การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่งให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดทางวินัย

  22. แนวทางการจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรมแนวทางการจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรม • มีคำปรารภกล่าวถึงที่มาของการจัดทำ • มีสาระครอบคลุมถึงมาตรฐานความประพฤติ ปรัชญาการทำงานและหลักนิยมขององค์การและหลักการปฏิบัติงานสำหรับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน • การสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม /จรรยาข้าราชการควรมีแนวทางดำเนินการ ดังนี้ • - จัดทำโดยชุมชนวิชาชีพ กระทรวง ทบวง กรม เมื่อจัดทำแล้ว ควรทำประชาพิจารณ์กับชุมชนหรือหน่วยงานนั้น • - ควรสั้น และกระชับ • - ต้องเขียนเป็นเชิงพฤติกรรม • - ไม่ควรซ้ำซ้อนกับวินัยข้าราชการ

  23. โครงสร้างพื้นฐานระบบจริยธรรมโครงสร้างพื้นฐานระบบจริยธรรม กรอบกฎหมาย ควบคุม ความรับผิดชอบ และการปฏิบัติ มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม ชี้นำ การยึดถือเป็นจริยธรรม ของวิชาชีพ เจ้าภาพ / ผู้ประสานงาน บริหารจัดการ สร้างเป็นเงื่อนไขของการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ การตรวจสอบ จากสังคมและองค์กรภายนอก Commitment ต้นแบบ / ภาวะผู้นำ

  24. มิติด้านประโยชน์สุขของชาติบ้านเมืองมิติด้านประโยชน์สุขของชาติบ้านเมือง มิติด้านจริยธรรม • การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมี • พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติ • เหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน • การเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตาม • กฎหมาย • การยึดมั่นคุณธรรม จริยธรรม และยืน • หยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง และเป็นธรรม • การมีจิตสำนึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ • เพื่อประโยชน์ของส่วนรวมและประเทศชาติ • การละเว้นจากการแสวงหาประโยชน์โดยอาศัยตำแหน่งหน้าที่/ไม่กระทำการที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือมีผลประโยชน์ทับซ้อน มิติด้านประโยชน์สุขของประชาชน มิติด้านจริยธรรมวิชาชีพและวัฒนธรรมองค์กร • การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความ • เป็นธรรม โปร่งใส และไม่เลือกปฏิบัติ • การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่าง • ครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง • การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน • และมีคุณภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ • การรักษาชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของ • องค์กร ร่างค่านิยมหลักสำหรับประมวลจริยธรรมฯ คณะกรรมการฯ สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน

  25. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรา ๒๘๐เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตามหมวดนี้ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำนาจหน้าที่เสนอแนะหรือให้คำแนะนำในการจัดทำหรือปรับปรุงประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๒๗๙ วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๐๔ ให้ดำเนินการจัดทำประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๒๗๙ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้

  26. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า การบริหารจัดการที่ดี

  27. พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด 2 เกิดประโยชน์สุขของประชาชน หมวด 8 มีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ หมวด 3 เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ ของภาครัฐ หมวด 1 การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี หมวด 7 ประชาชนได้รับการอำนวยความ สะดวกและได้รับการตอบสนอง ความต้องการ หมวด 4 มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 6 มีการปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์ หมวด 5 ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น

  28. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๓/๑ วรรคแรก “ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไป เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจ ตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน ”

  29. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๓/๑ วรรคสาม “ ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ ”

  30. การสร้างราชการใสสะอาดการสร้างราชการใสสะอาด มติ ก.พ. เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๓ เห็นชอบให้กระทรวงเป็นศูนย์กลางกำกับให้ส่วนราชการในสังกัดจัดทำมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยยึดถือค่านิยมสร้างสรรค์ของข้าราชการ ๕ ประการ และให้ส่วนราชการรณรงค์เพื่อลดการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ในการประชุมวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๓ การรณรงค์ เพื่อลดการทุจริต จำเป็นต้องสร้างความใสสะอาด โดยการจัดทำแผนสร้างราชการใสสะอาด

  31. สรุปมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๓ ๑. เห็นชอบหลักการของแผนปฏิบัติการสร้างราชการใสสะอาด และกำหนดเป็นนโยบายสำคัญของทางราชการ ๒. ให้หน่วยงานต่าง ๆ จัดทำแผนกลยุทธ์ “หน่วยงานใสสะอาด” และประกาศให้สาธารณะชนทราบตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๔๔ ๓. ให้ สงป. สนับสนุนงบประมาณ และ สกพ. ให้การสนับสนุน และคำปรึกษาในการจัดตั้งศูนย์ประสานราชการใสสะอาด ๔. ให้ดำเนินการอย่างจริงจังตั้งแต่ปี ๒๕๔๔ เป็นต้นไป และรายงานผลต่อคณะรัฐมนตรีเป็นรายปี

  32. แผนการสร้างราชการในสะอาดแผนการสร้างราชการในสะอาด (มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๓) ๑. แผนส่งเสริมจิตสำนึก “ราชการไทยใสสะอาด” ๒. แผนป้องกันเหตุการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจเป็นภัยต่อการก้าวไปสู่ “ประเทศไทยใสสะอาด” ๓. แผนการจัดการกรณีทุจริตและคอร์รัปชันที่เกิดขึ้นแล้ว หรือที่กำลังเกิดขึ้น

  33. กรอบแนวคิดมาตรการสร้างราชการใสสะอาดกรอบแนวคิดมาตรการสร้างราชการใสสะอาด จัดการกรณีทุจริต จิตสำนึกราชการใสสะอาด • จัดทำและบังคับใช้มาตรฐานทางคุณธรรม • และจริยธรรม • เผยแพร่ รณรงค์ และส่งเสริมการปฏิบัติ • ตามจรรยาบรรณ และมาตรฐานฯ • เร่งรัดดำเนินการทางวินัย • ส่งเสริมบุคคลภายนอกมี ส่วนร่วมตรวจสอบ • มีช่องทางแจ้งเบาะแสทุจริต • แจ้งรายชื่อเอกชนที่ได้ • รับคำพิพากษาว่า • ทุจริต • ยกย่องเชิดชูคนดีโดยเชื่อมโยง • ความประพฤติ ผลงาน กับ • การให้รางวัล กรอบการสร้าง ความโปร่งใสและใสสะอาด ของหน่วยงานภาครัฐ • ลดการใช้ดุลยพินิจของ • บุคคล ป้องกันการทุจริต (บริหารใสสะอาด) • ใช้การบริหารงานบุคคลตามหลักคุณธรรม • เสริมสร้างจิตสำนึกความพร้อมรับผิด • ส่งเสริมให้ผู้บังคับบัญชาเป็นแบบอย่างที่ดี

  34. ๗ กลยุทธ์ ๑. ประกาศแผนสร้างราชการใสสะอาดเป็นแผนระดับชาติ ๒. ให้ส่วนราชการทุกแห่งจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ๓. สร้างจิตสำนึกในการเห็นภัยของการทุจริตคอร์รัปชัน ๔. จัดตั้งศูนย์ประสาน “ราชการใสสะอาด” ๕. รณรงค์และเข้มงวดการตรวจสอบการใช้เงินงบประมาณ ๖. เปิดเผยผลการดำเนินการต่อสาธารณะ ๗. สร้างความใสสะอาดในภาคเอกชนและประชาสังคม ให้คู่ขนานกันไป

  35. สรุปหลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ สำนักงาน ป.ป.ช. ๑. การรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใดจาก: ๑.๑ ญาติ รับได้ตามจำนวนที่เหมาะสมตามฐานานุรูป ๑.๒ บุคคลอื่น รับได้ต้องมีมูลค่าไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท ๒. หากรับทรัพย์สินมีมูลค่าเกิน ๓,๐๐๐ บาท รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว ๓. ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุญาตให้ผู้รับเก็บไว้เป็นสิทธิ หรือ ส่งมอบให้หน่วยงานของรัฐ หรือ ส่งคืนผู้ให้

  36. โครงการเสริมสร้างจริยธรรม สร้างชุมชนเข้มแข็งป้องกันทุจริต มุ่งสู่จังหวัดเข้มแข็ง ใน ๕ จังหวัดนำร่อง ชัยนาท เชียงใหม่ ภูเก็ต นราธิวาส ขอนแก่น * สร้างเสริมคุณธรรม * สรรเสริญคนดี * สอดส่องทุจริต

  37. การประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างจริยธรรม: รวมพลังสร้างชุมชนเข้มแข็งป้องกันทุจริต * เพื่อพัฒนาแนวทางความสามารถในการทำงานที่มี ประสิทธิภาพ ถูกต้องดีงาม มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ * เพื่อสร้างกลไกการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมจริยธรรม ป้องกันการทุจริตให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่การ สร้างพลังชุมชนให้เข้มแข็ง

  38. การบริหารจัดการภาครัฐยุคใหม่ การจัดองค์กร • บทบาท หน้าที่ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ชัดเจน • รูปแบบองค์กร เน้นให้เกิดความรับผิดชอบสูง • กระจายอำนาจการบริหาร (ไม่รวมศูนย์) • จัดกลุ่ม/ปรับย้ายภารกิจได้อย่างคล่องตัวและ มีประสิทธิภาพ • แยกหน่วยนโยบายจากหน่วยปฏิบัติ • แยกหน่วยจัดสรรทรัพยากรและผู้ซื้อบริการ จากหน่วยที่ให้บริการ

  39. การบริหารจัดการภาครัฐยุคใหม่การบริหารจัดการภาครัฐยุคใหม่ กลยุทธ์ / ระบบงาน • เน้นลูกค้า ผู้รับบริการ • การกระจายความรับผิดชอบ • มุ่งต่อผลสำเร็จมากกว่าเน้น กฎระเบียบ • และกระบวนการ • เน้นคุณภาพ มากกว่าปริมาณ

  40. การบริหารจัดการภาครัฐยุคใหม่ (ต่อ) กลยุทธ์ / ระบบงาน (ต่อ) • ระบบการตรวจสอบจากภายนอก • ข้อมูลกว้างขวาง เพียบพร้อม • แปรรูป / จ้างเหมาให้ภาคอื่นรับงานไป • นำเทคนิคการบริหารของภาคเอกชนมาปรับใช้ • ใช้กลไกตลาด

  41. การบริหารจัดการภาครัฐยุคใหม่การบริหารจัดการภาครัฐยุคใหม่ ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล • ใช้คนน้อย แต่มีคุณภาพ • มืออาชีพ • มีมาตรฐานทาง คุณธรรม จริยธรรม • โปร่งใส / พร้อมรับผิด • มีการทำข้อตกลงหรือสัญญา (Performance Agreement)

  42. โครงสร้างองค์กรแบบพีระมิดกลับหัวโครงสร้างองค์กรแบบพีระมิดกลับหัว ประชาชน Knowledge Workers เจ้าหน้าที่ ฝ่ายสนับสนุน R & D ผู้บริหาร

  43. เป็นศูนย์กลาง วางนโยบาย/ แนวทาง/ ตรวจสอบ ปฏิบัติตาม นโยบายแต่มีอิสระ ในการบริหารจัดการ Virtual Organization โครงสร้างองค์กรแบบเครือข่าย

  44. ยกระดับขีดความสามารถโดยรวมของหน่วยงาน ยกระดับขีดความสามารถโดยรวมของหน่วยงาน ฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประชาชนต่อระบบราชการ รับผิดชอบต่อความต้องการหลากหลายของประชาชน ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ ส่วนรวม สนับสนุนองค์กรธุรกิจให้เติบโต และเป็นกลไกใน การพัฒนาประเทศ วัตถุประสงค์ การปรับเปลี่ยนระบบราชการ

  45. ราชการยุคใหม่ภายหลังการปรับเปลี่ยนราชการยุคใหม่ภายหลังการปรับเปลี่ยน • ทำเฉพาะภารกิจหลัก • รวดเร็ว มีคุณภาพประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ • รูปแบบองค์กรขนาดกะทัดรัด คล่องตัว มีเอกภาพ • ข้าราชการมีคุณภาพ คุณธรรม • เน้นการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ • ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง • มีกลไกการบริหารงานบุคคลที่หลากหลาย • ทำงานแบบมีส่วนร่วม ใช้เทคโนโลยีทันสมัย

  46. ยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนระบบราชการยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนระบบราชการ รักษาของเดิมที่ดีอยู่แล้ว รื้อทิ้งสิ่งเก่าที่ชำรุดหรือล้าสมัย สร้างเสริมสิ่งใหม่ ให้ทันโลก ทันการณ์ พัฒนาคนเพื่อคุณภาพและคุณธรรม เปลี่ยนแปลงจากภายในเพื่อความยั่งยืน แสวงหาแนวร่วมจากสังคม

  47. เงื่อนไขของความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนระบบราชการเงื่อนไขของความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนระบบราชการ ปัจจัย สนับสนุน ปัจจัยหลักที่สำคัญ ผู้นำ/ ผู้บริหาร และ ข้าราชการ ประชาชน สื่อมวลชน เอกชน/ธุรกิจ

  48. การบริหารงานบุคคลเชิงกลยุทธ์การบริหารงานบุคคลเชิงกลยุทธ์ (Strategic Human Resource Management) เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ทิศทาง/ กลยุทธ์ (Direction/ Strategy) สมรรถนะ (Capabilities) สร้างแรงจูงใจ (Motivation) HR Direction / Strategy: ทิศทาง/กลยุทธ์ สอดคล้องกับ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์กร HR Motivation: ระบบกลไก/วิธีการจูงใจ HR Capabilities: กลุ่มกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง/พัฒนา ขีดความสามารถของคนในองค์กร

  49. ข้าราชการมืออาชีพ โดย ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี * ทำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ * จงรักภักดี อุทิศตน อุทิศเวลา อุทิศเรื่องส่วนตัวให้แก่ หน่วยงานอย่างเต็มที่ โดยไม่มีข้อแม้ * เห็นความสำคัญและเกียรติแห่งความเป็นข้าราชการ * ฉลาดแต่ไม่โกง * เคารพผู้บังคับบัญชาอย่างจริงใจ * ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา

  50. อาชีพข้าราชการ โดย ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี * รับราชการเพียงเพื่อเงินเดือนเลี้ยงชีพอย่างเดียว * ไม่มีความสำนึกของข้าราชการ * ไม่อุทิศตนให้กับหน่วยงาน * ทำงานแบบเช้าชามเย็นชาม * ใช้เวลาว่างหรือเวลาราชการไปหากินส่วนตัว * หากินส่วนตัวด้วยการกระทำที่ผิดกฎหมาย

More Related