820 likes | 1.25k Views
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ 10 สาขา. เครือข่ายบริการ 12 7 กุมภาพันธุ์ 2556 ห้องประชุมโรงพยาบาลสงขลา การประชุม คปสข. พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 11 สาขา ( Service Plan). 1) สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด. จังหวัดปัตตานี รับผิดชอบ. 2) สาขามารดาและทารกแรกเกิด. จังหวัดนราธิวาส รับผิดชอบ.
E N D
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ 10 สาขา เครือข่ายบริการ 12 7 กุมภาพันธุ์ 2556 ห้องประชุมโรงพยาบาลสงขลา การประชุม คปสข.
พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 11 สาขา (Service Plan) 1) สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด จังหวัดปัตตานี รับผิดชอบ 2) สาขามารดาและทารกแรกเกิด จังหวัดนราธิวาส รับผิดชอบ 3) สาขาโรคมะเร็ง โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ จ. สงขลา รับผิดชอบ 4) สาขาอุบัติเหตุ โรงพยาบาลสงขลา จ. สงขลา รับผิดชอบ 5) สาขาโรคตา ไต จังหวัดสตูล รับผิดชอบ
พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 11 สาขา (Service Plan) 6) สาขาจิตเวช / เยียวยา จังหวัดยะลา รับผิดชอบ 7) สาขาสูติกรรม/ศัลยกรรม/อายุรกรรม/กุมารเวชกรรม/Ortho โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ จ. สงขลา รับผิดชอบ 8) สาขาทันตกรรม จังหวัดพัทลุง รับผิดชอบ 9) สาขา Primary Care , Holistic Care จังหวัดสงขลา รับผิดชอบ 10) สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดตรัง รับผิดชอบ 11) สาขาโรคยาเสพติด จังหวัดปัตตานี รับผิดชอบ
สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือดสาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด สถานการณ์ปัจจุบัน อัตราตายผู้ป่วย ASTEMI ร้อยละ 16.5 (หาดใหญ่/ตรัง/นราธิวาส) โรงพยาบาลให้ SK 12แห่ง กำลังจะเริ่ม PCI 2แห่ง (หาดใหญ่ ตรัง) ผู้ป่วยเข้าถึงยา SK ร้อยละ 37 Open Heart 1 โรงพยาบาล (ยะลา แต่มีขีดจำกัด) ไม่มี Heart Failure clinic Warfarin clinic 6 แห่ง (ระดับ A-S) สามารถให้ยา RtPA 4 แห่ง (หาดใหญ่ ตรัง ยะลา สงขลา)
๑. สาขาหัวใจและหลอดเลือด
๑. สาขาหัวใจและหลอดเลือด เปรียบเทียบร้อยละของการได้รับยาละลายลิ่มเลือด การทำ PCI และอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย STEMI ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ปี 2553 – 2555 (10เดือน) เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วย STEMI ที่ใช้บริการผู้ป่วยใน และอัตราการเข้าถึงยาละลายลิ่มเลือด รายจังหวัดในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ปี 2555 (10 เดือน) ที่มา : ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน (IP eclaim)สปสช.ณ วันที่ 19 ตค.55
๑. สาขาหัวใจและหลอดเลือด เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วย STEMII ตามภูมิลำเนา และอัตราการเข้าถึงบริการ PCI รายจังหวัด ปี 2555 (10 เดือน) สรุปภาพรวมอัตราเข้าถึงบริการ PCI ใน 7 จังหวัด = 21%
เป้าหมาย ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันเข้าถึงยาละลายลิ่มเลือดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ (เดิมร้อยละ ๔๐) เป้าหมาย ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันเข้าถึงการสวนหัวใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๐ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ (เดิมร้อยละ ๒๑)
๑. สาขาหัวใจและหลอดเลือด เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจแบบเปิด จำแนกตาม Hmain รายจังหวัด ปี 2553 - 2555 คิวผ่าตัด OHS ในเครือข่าย 12
๑. สาขาหัวใจและหลอดเลือด • แผนพัฒนา • การเข้าถึงยาละลายลิ่มเลือด : ยกศักยภาพ รพช. ให้ยาละลายลิ่มเลือด • ระยะสั้น - เพิ่มในระดับ M2 อีก 3 แห่ง สมเด็จฯนาทวี ควนขนุน สายบุรี • - เพิ่มในระดับ F1 อีก 5 แห่ง มายอ กะพ้อ ทุ่งยางแดง รือเสาะ ศรีสาคร • ระยะยาว - เพิ่ม M2 อีก 1 แห่ง ห้วยยอด • - เพิ่ม F1 ที่ โคกโพธิ์ • - เพิ่ม F2 อีก 14 แห่ง • 2. ระบบการให้คำปรึกษา EKG • 3. การสวนหัวใจ เปิดบริการที่ รพ.หาดใหญ่ ประมาณ มิถุนายน 2556 • 4. การผ่าตัดเปิดหัวใจ เพิ่มศักยภาพที่ รพ.หาดใหญ่ รวมมี 2 แห่ง (เดิมยะลา)
ตัวชี้วัดNSTEMI / UA network สรุป เขต 12 ปัจจุบัน มี Echo/EST(7) ตรัง,หาดใหญ่,สงขลา, ยะลา,เบตง,นราธิวาส, สุไหงโก-ลก ระยะสั้นมี PCI 2 รพ. ตรัง/หาดใหญ่ Echo/EST(2) ปัตตานี/สตูล
ตัวชี้วัด Heart Failure Clinic ปัจจุบัน ไม่มี HFC ระยะสั้น รพ.ระดับ A-S มี 100% ระยะยาว AICD, CRT รพ.หาดใหญ่/ตรัง
ตัวชี้วัด Open Heart Network ปัจจุบัน รพ.ยะลา (2 เดือน) ระยะสั้น หาดใหญ่/ตรัง
เครือข่ายบริการอุบัติเหตุเครือข่ายบริการ 12 Trauma level 3 Trauma level 2 รพท.สงขลา Trauma level 3 Trauma level 3 Trauma level 3 รพศ.หาดใหญ่ Trauma level 1 Trauma level 3 Trauma level 2
๒. สาขาอุบัติเหตุ อัตราผู้บาดเจ็บเสียชีวิต ต่อแสนประชากร แยกรายจังหวัด
๒. สาขาอุบัติเหตุ ข้อมูลผู้ป่วยอุบัติเหตุทางถนนที่เข้ารับบริการ รพ.หาดใหญ่ การวิเคราะห์ข้อมูลแบบบันทึก IS ผู้ป่วยบาดเจ็บจากอุบัติเหตุภาพรวมของเขต ยังไม่มี
๒. สาขาอุบัติเหตุ จำนวนผู้ป่วยในบาดเจ็บศีรษะ รพ.หาดใหญ่ 2551 - 2555 จำนวนผู้ป่วยในบาดเจ็บศีรษะ 2551 - 2555 จำนวนผู้บาดเจ็บศีรษะแบ่งตามระดับความรุนแรง 2551 - 2555
แผนพัฒนาการดูแลผู้บาดเจ็บแผนพัฒนาการดูแลผู้บาดเจ็บ 1. การดูแลผู้บาดเจ็บศีรษะและบาดเจ็บหลายระบบ 2. การดูแลผู้บาดเจ็บจากความไม่สงบภาคใต้ : ระบบการส่งต่อผู้ป่วย : การเยียวยาผู้บาดเจ็บ (จิตเวช) กระทรวงกำหนดเป้าหมาย 1. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่น้อยกว่า 13 ต่อประชากรแสนคน 2. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กอายุ 0 – 15 ปี ไม่น้อยกว่า 10 ต่อประชากรแสนคน 3. ร้อยละของ ER EMS คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 4. จำนวนทีม MERT ที่ได้รับการพัฒนา (เท่ากับ 24 ทีม)
แผนการตอบสนอง บาดเจ็บจากสถานการณ์ชายแดนใต้ โรงพยาบาลยะลา มีแผนการตอบสนอง โดยใช้ระบบ All disasters model มีการกำหนดทีมในการจัดการเหตุการณ์ตามหลัก 2P2R จัดระบบ ICS จัดทำ Job action sheet แต่แผนยังคงต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
๓. มารดาและทารกแรกเกิด
ศักยภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ศักยภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์
สาขามารดาและทารกแรกเกิดสาขามารดาและทารกแรกเกิด ประเด็นปัญหาและการแก้ไข • ประเด็นปัญหา 1. ทารกคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม มีเพิ่มขึ้น 2. ระบบการส่งต่อในบางจังหวัดขาดประสิทธิภาพ 3. อัตราการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนสูง 4. แพทย์ พยาบาลเฉพาะทางขาดแคลน • การแก้ปัญหา 1. พัฒนางาน ANC : - การคัดกรองและดูแลหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีด 2. พัฒนางานห้องคลอด ER ให้ส่งต่อมีคุณภาพ - ลดสาเหตุการตายมารดาจากภาวะ PIH , PPH * 3. ขยายเตียง NICU ให้สามารถบริการได้ตามสัดส่วนมาตรฐาน 4. จัดฝึกอบรมพยาบาลดูแลทารกแรกเกิดภายในเครือข่าย *ข้อมูลสาเหตุการตายจาก PIH , PPH ในเขตยังไม่มีตัวเลข
กระทรวงกำหนดเป้าหมาย 1. อัตรามารดาตาย (ไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) 2. อัตราตายทารก (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) 3. อัตราการตั้งครรภ์ในมารดาอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรพันคน) 4. ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด (ไม่เกิน 5) 5. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด (ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) 6. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (ไม่น้อยกว่า 60) 7. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 8. ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 9. ร้อยละของบริการ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)
ปัญหา คือ Cancer ยังพบ Late Stage เยอะ (ทั้งที่มีเครื่องมือระดับหนึ่ง และ มีข้อมูลการ Screen อย่างต่อเนื่อง) ไม่มีทะเบียนมะเร็ง ทำให้ไม่รู้สถานการณ์จริงๆ ไม่มีเครื่อง Radiation ไม่มี Palliative Team
๔. สาขามะเร็ง ประเด็นการพัฒนา 1. เพิ่มบริการ : - ด้านการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม > 60% เป้าหมายใน 3 ปี 80% ใน 5 ปี 2. Better Service - Safer : ตรวจพบมะเร็งในระยะต้น > 60% เป้าหมายใน 3 ปี 70% ใน 5 ปี - Quality : รพ.ทุกระดับมี palliative care & Holistic care 3. More Efficiency - ระบบข้อมูลมีความสมบูรณ์ ในรพ.ระดับ A ทุกแห่ง เป้าหมาย 3 ปี - อัตราผู้ป่วยมะเร็งส่งต่อนอกเครือข่ายไม่เกิน 10% เป้าหมายใน 5 ปี
Goal Cancer Early Stage เกิด CA Registration เกิด Palliative Care Team Radiation System
KPI หลัก คือ Cancer SBE > 80 % Early & Late Stage (70 : 30) CA Registration in Hospital - Level A within 1 year, Level S within 3 years Implement Palliative Care Network
กรอบแนวทางการพัฒนา Cancer 1). การพัฒนาการ Screening และ Early Diagnosis (ตาม KPI) ยุทธศาสตร์ ทำ Work Shop ร่วมของเขต ให้ได้การ Screening ที่มีประสิทธิภาพ (Effective) 2). ด้านการรักษา ยุทธศาสตร์- พัฒนาเครื่องมือที่ทันสมัย, บุคลากร เพื่อรองรับผู้ป่วยที่จะ refer in เข้าโรงพยาบาลใหญ่ - พัฒนาระบบ refer back เพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาลระดับใหญ่
พัฒนาทะเบียนมะเร็ง Cancer จุดประสงค์ มีข้อมูลที่แท้จริงในการวิเคราะห์ปัญหาของประชากรใน เขต ข้อจำกัด1). ยังไม่เคยมี (อาจจะมีต้นแบบอยู่ปัตตานี) 2). ระบบการเก็บข้อมูลผู้ป่วย เป็นคนละระบบกับการเก็บ ทะเบียนผู้ป่วยของ สปสช. 3). ในแต่ละโรงพยาบาล ยังไม่มีผู้รับผิดชอบโดยตรง 4). การพัฒนาต้องใช้เวลา
กระทรวงกำหนดเป้าหมาย 1. ร้อยละสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่า 80% 2. ร้อยละสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า 80% 3. สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3 สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ 4 1 2
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตจำแนกตามจังหวัดสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตจำแนกตามจังหวัด
การดำเนินงานสุขภาพจิต ปี 2556 - 2559 เป้าหมายหลัก ตัวชี้วัด เพิ่มความสุข 70 % ของประชาชนในแต่ละจังหวัด มีความสุข ลดความทุกข์ อัตราการฆ่าตัวตายของประชาชน แต่ละจังหวัดลดลง
สถานการณ์ปัจจุบันและปัญหาสถานการณ์ปัจจุบันและปัญหา เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่12 ปัญหา… ด้านบุคลากร(ด้านปริมาณและศักยภาพ) ส่งผลต่อ... การเข้าถึงบริการใน - การตรวจวินิจฉัยและบำบัดรักษา - การส่งเสริมป้องกัน - ระบบยา - การติดตามดูแล
ข้อมูลภาพรวม 7 จังหวัด พบส่วนขาด คือ • จิตแพทย์ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น (A S) มีไม่ครบ • - แพทย์ ได้รับอนุมัติบัตรวิชาชีพเวชศาสตร์ป้องกันแขนง • สุขภาพจิตชุมชน (M1 M2 F1 F2 F3) มีไม่ครบ รพ.ทุกแห่ง • - กุมารแพทย์ ผ่านการอบรมและเพิ่มพูนทักษะการตรวจรักษา • ผู้ป่วยที่มีปัญหาพัฒนาการ/โรคจิตเวชเด็กฯ (S M1 M2 F1) ยังไม่มี • - พยาบาลเฉพาะทางจิตเวช (PG) ทุกระดับ ไม่เพียงพอ • - ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต ระดับปฐมภูมิ มีครบ แต่ศักยภาพ • การคัดกรอง/ประเมินสภาวะสุขภาพจิต/ส่งต่อ ยังไม่เพียงพอ
๕. สาขาจิตเวช เป้าหมายการพัฒนาระยะ 1 – 2 ปี
๕. สาขาจิตเวช เป้าหมายการพัฒนาระยะ 3-5 ปี
ประเด็นการพัฒนา • โรคตา • 1. เพิ่มการคัดกรองเบาหวานตา & ต้อกระจก • 2. ระยะเวลารอคิวผ่าตัดต้อกระจก โรคจอประสาทสั้นลง โรคไต 1. จัดบริการให้ผู้ป่วยไตวายเข้าถึงการฟอกไต : ลดเวลารอคิว 2. จัดระบบการส่งต่อผู้ป่วยไตเลื่อม 3. อัตราการคัดกรองโรคไตในผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้น > 60% 4. อัตราการบำบัดทดแทนไตลดลง > 50%
แผนพัฒนาสาขาตา เป้าหมาย โรคต้อกระจก - ภาวะตาบอดจากต้อกระจกลดลง โรคจอประสาทตา - ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองและรักษา โรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตาได้อย่างทั่วถึงและ ทันเวลา โรคต้อหิน - ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองและรักษาโรคต้อหิน อย่างทั่วถึงและทันเวลา โรคตาในเด็ก - ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองและรักษาโรคตาใน เด็กอย่างทั่วถึงและทันเวลา
KPI - อัตราการคัดกรองต้อกระจกในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป > 70% - อัตราการเข้าถึงการผ่าตัดต้อกระจกเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 ต่อปี - อัตราการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตา > 60 % - อัตราการคัดกรองต้อหินในกลุ่มเสี่ยง > 60 % - อัตราการคัดกรอง ROP ในเด็ก 100 %
เป้าหมายตามนโยบาย 1.มี CKD Clinic ในระดับ A , S 2. ระยะรอคอย Vascular access < 2 เดือน 3. คิวบริการ HD,CAPD มีบริการอย่างไม่มีคิวใน 3 ปี