1 / 60

สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๔

สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๔. ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน. วัชรีพร โอฬารกนก. อรุณรัชต์ เสถียรทิพย์. ส่วนบริหารศัตรูพืช. สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร. ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน. กลไกสำคัญในการขับเคลื่อน. “มือปราบศัตรูพืชในท้องถิ่น”. การแก้ไขปัญหาการระบาดของศัตรูพืช

oya
Download Presentation

สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๔

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๔

  2. ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน วัชรีพร โอฬารกนก อรุณรัชต์ เสถียรทิพย์ ส่วนบริหารศัตรูพืช สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

  3. ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน กลไกสำคัญในการขับเคลื่อน “มือปราบศัตรูพืชในท้องถิ่น” การแก้ไขปัญหาการระบาดของศัตรูพืช การให้ความรู้แก่เกษตรกรด้านการจัดการศัตรูพืชอย่างทั่วถึง

  4. เพื่อเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์กลางการพัฒนา เกษตรกร ชุมชนและท้องถิ่น อบรมถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกร เกษตรกรสามารถควบคุมศัตรูพืชได้ด้วยตนเองและยั่งยืน ความเข้มแข็งในอาชีพเกษตรกรกรรม ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น

  5. จำนวนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนจำนวนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน

  6. ศจช. ศบกต. กับ ศจช. ศบกต. บริหารจัดการ ในท้องถิ่น/ชุมชน ศจช. ศูนย์วิชาการเฉพาะทาง ด้านการควบคุมศัตรูพืช

  7. บทบาทหน้าที่ ของ ศจช. ๑. สำรวจและติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๒. รายงานและเตือนภัยการระบาดของศัตรูพืช ๓. เรียนรู้เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืช ๔. ถ่ายทอดความรู้ด้านการควบคุมศัตรูพืชสู่เกษตรกร ๕. ผลิตขยายศัตรูธรรมชาติและชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช ๖. ขับเคลื่อนมาตรการควบคุมศัตรูพืชสู่เกษตรกรและชุมชน

  8. บทบาทหน้าที่ ของ ศจช.

  9. บทบาทหน้าที่ ของ ศจช.

  10. บทบาทหน้าที่ ของ ศจช.

  11. โรงเรียนเกษตรกร

  12. โรงเรียนเกษตรกร การถ่ายทอดเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วม การถ่ายทอดเทคโนโลยีแบบประสบการณ์จริง กระบวนการเรียนรู้

  13. โรงเรียนเกษตรกร กระบวนการเรียนรู้ ๑. จากปัญหาของตนเองในเรือกสวนไร่นา ๒. เป็นกลุ่ม ๓. มีส่วนร่วม ๔. ปฎิบัติจริงการมีส่วนร่วม ๕. อย่างต่อเนื่องตามขั้นตอน/ฤดูกาล ของแต่ละชนิดพืช-ศัตรูพืช

  14. การพบปะ หารือ แลกเปลี่ยน บทบาทหน้าที่ ของ ศจช.

  15. บทบาทหน้าที่ ของ ศจช.

  16. ผลิตขยายศัตรูธรรมชาติและชีวภัณฑ์ ควบคุมศัตรูพืช

  17. ตัวอย่างศัตรูธรรมชาติและชีวภัณฑ์ตัวอย่างศัตรูธรรมชาติและชีวภัณฑ์

  18. ทำอย่างไร ทำอะไร ผลิตขยายศัตรูธรรมชาติและชีวภัณฑ์ ควบคุมศัตรูพืช ชนิดศัตรูพืช

  19. บทบาทหน้าที่ ของ ศจช. เกษตรกรผู้ความรู้ และชุมชนที่มีความเข้มแข็ง

  20. เจ้าหน้าที่ บทบาทหน้าที่ ของ ศจช.

  21. พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ ในการจัดตั้งและดำเนินการของ ศจช. + ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพสินค้า ผลผลิตปลอดภัยได้มาตรฐาน การป้องกันกำจัดศัตรูพืช ส่งเสริม เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด วิทยากรหลักระดับภาค

  22. งบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โครงการบริหารจัดการศัตรูพืชและการเขตตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร วัตถุประสงค์ • เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืช • แบบผสามผสานให้แก่เกษตรกร

  23. งบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โครงการบริหารจัดการศัตรูพืชและการเขตตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร วัตถุประสงค์ • เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืช แบบผสามผสานให้แก่เกษตรกร ๒. เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืช ได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน

  24. งบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โครงการบริหารจัดการศัตรูพืชและการเขตตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร วัตถุประสงค์ • เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืช แบบผสามผสานให้แก่เกษตรกร ๒. เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน เป้าหมาย ๗๓ จังหวัด เกษตรกร ๓๓,๔๘๐ ราย

  25. กิจกรรมและงบประมาณ ติดตามประเมินผล การดำนินงาน ๑. ก่อนการระบาด ๒. ระหว่างการระบาด ๓. หลังการระบาด

  26. กิจกรรมและงบประมาณ ๑. ก่อนการระบาด สร้างความเข้มแข็งในการจัดการศัตรูพืช

  27. กิจกรรมและงบประมาณ ๑. ก่อนการระบาด ๑.๑ สร้างความเข้มแข็งในการจัดการศัตรูพืช จังหวัด การจัดการศัตรูพืช ๒๖๓ คน ตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช ๓๐ คน ศบพ.

  28. กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรมและงบประมาณ ๑. ก่อนการระบาด ๑.๑ สร้างความเข้มแข็งในการจัดการศัตรูพืช ๑.๒ จัดตั้ง ศจช. (ใหม่)

  29. จำนวนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนจำนวนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน

  30. การจัดตั้ง ศจช. ๑. ศบกต. อบต. และ อำเภอ ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรที่มีปัญหาหรือมีความต้องการแก้ไขปัญหาเพลี้ยแป้งมารวมตัวกันเป็นสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ประมาณ ๓๐ ราย

  31. การจัดตั้ง ศจช. โดยมีเกณฑ์การพิจารณาสมาชิก ศจช. ๓๐ ราย ดังนี้ ๑) เป็นเกษตรกรหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและ มีความประสงค์จะร่วมกันแก้ไขปัญหาศัตรูพืช ๒) เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและเป็นที่ ยอมรับของชุมชน ๓) เป็นผู้ที่ประสบปัญหาจากการทำลายของศัตรูพืช

  32. การจัดตั้ง ศจช. (ต่อ) • ๒ . ศบกต. อบต. อำเภอและสมาชิก ศจช.ร่วมกัน คัดเลือกสถานที่ตั้ง ศจช.

  33. การจัดตั้ง ศจช. (ต่อ) • โดยมีเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก สถานที่ตั้ง ศจช. ดังนี้ • ๑) เป็นพื้นที่ปลูกพืชหลักในตำบลหรือชุมชนที่มีความสนใจและ ให้ความร่วมมือกับ อบต. ศบกต.และทางราชการเป็นอย่างดี • ๒) ชุมชนหรือเกษตรกรมีความเข้มแข็งพร้อมเข้าร่วมเข้าใจ ในหลักวิธีการและเป้าหมายของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนอย่างแท้จริง • ๓) สถานที่ควรกว้างขวางพอสำหรับจัดประชุม บริหารจัดการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีและสะดวกต่อการเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม

  34. การจัดตั้ง ศจช. (ต่อ) • ๓ . สมาชิกร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของการจัดตั้ง ศจช.

  35. การจัดตั้ง ศจช. (ต่อ) วัตถุประสงค์หลักของการจัดตั้ง ศจช. ๑) วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหาและ ความต้องการของสมาชิก ๒) กำหนดโดยสมาชิก ศจช. ๓) ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทุกคนทราบ

  36. การจัดตั้ง ศจช. (ต่อ) ๔. สมาชิกร่วมกันกำหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับ ของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ๕. สมาชิกร่วมกันกำหนดกิจกรรม ที่จะดำเนินการของ ศจช.

  37. การจัดตั้ง ศจช. (ต่อ) • 6. การจัดทำแผนการปฏิบัติงานของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ๖.๑ สมาชิก ศจช. ศบกต. อบต. หน่วยงานของรัฐ ร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติงานของ ศจช. ๖.๒ มีการกำหนดกิจกรรม สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลาในการดำเนินการ วิธีการ งบประมาณและผู้รับผิดชอบให้ชัดเจน ๖.๓ มีการกระจายความรับผิดชอบกิจกรรมให้กับสมาชิกอย่างทั่วถึง

  38. การจัดตั้ง ศจช. (ต่อ) • ๗. ดำเนินงานตามแผน ๗.๑ ผู้รับผิดชอบงาน มีหน้าที่มอบหมายให้สมาชิกดำเนินงานให้ชัดเจนตามแผนปฏิบัติงาน ๗.๒ มีการสอนงานทั้งก่อนและระหว่างดำเนินการให้กับสมาชิกผู้ปฏิบัติงาน ๗.๓ มีการติดตามความก้าวหน้าของงานในทุกขั้นตอน โดยผู้รับผิดชอบงาน ๗.๔ มีการประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งระหว่างและหลังปฏิบัติงาน เพื่อนำมาแก้ไขและปรับปรุงการทำงาน

  39. บทบาทหน้าที่ ของ ศจช. ๑. สำรวจและติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๒. รายงานและเตือนภัยการระบาดของศัตรูพืช ๓. เรียนรู้เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืช ๔. ถ่ายทอดความรู้ด้านการควบคุมศัตรูพืชสู่เกษตรกร ๕. ผลิตขยายศัตรูธรรมชาติและชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช ๖. ขับเคลื่อนมาตรการควบคุมศัตรูพืชสู่เกษตรกรและชุมชน

  40. กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรมและงบประมาณ ๑. ก่อนการระบาด ๑.๑ สร้างความเข้มแข็งในการจัดการศัตรูพืช • ๑.๒ จัดตั้ง ศจช. (เพิ่ม) ๑๘๖ ศูนย์ • อบรมเกษตรกร ๓๐ รายๆละ ๒๐๐ บาท • (จำนวน ๖ ครั้ง) • วัสดุเรียนรู้ สำรวจ และผลิตขยาย ๑๖,๐๐๐ บาท • จัดทำแปลงติดตามสถานการณ์ ๔,๐๐๐ บาท

  41. กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรมและงบประมาณ ๑. ก่อนการระบาด ๑.๑ สร้างความเข้มแข็งในการจัดการศัตรูพืช ๑.๒ จัดตั้ง ศจช. (เพิ่ม) ๑๘๖ แห่ง ๑.๓ ผลิตศัตรูธรรมชาติและชีวภัณฑ์ (สพส.) ๑.๔ ผลิตต้นพันธุ์มันสำปะหลังจากการเพะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (สพส.)

  42. สนับสนุน ศจช. พื้นที่ระบาด ๒.๑ ผลิตขยายศัตรูธรรมชาติและชีวภัณฑ์ ๒.๒ ติดตามสถานการณ์การะบาด กิจกรรมและงบประมาณ ๒. ระหว่างการระบาด สพส. และศบพ. ร่วมกับ จังหวัด

  43. กิจกรรมและงบประมาณ ๓. หลังการการระบาด ๓.๑ พัฒนา ศจช. (เดิม) ๙๓๐ แห่ง

  44. จำนวนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนจำนวนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน

  45. กิจกรรมและงบประมาณ ๓. หลังการการระบาด ๓.๑ พัฒนา ศจช. (เดิม) ๙๓๐ แห่ง ๓.๑.๑ ศจช. ข้าว พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก จำนวน ๓๕๘ แห่ง ๓.๑.๒ ศจช. โครงการการจัดการเพลี้ยแป้งฯ จำนวน ๕๗๒ แห่ง

  46. กิจกรรมและงบประมาณ ๓. หลังการการระบาด ๓.๑ พัฒนา ศจช. (เดิม) ๙๓๐ แห่ง ๓.๑.๑ ศจช. ข้าว พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก จำนวน ๓๕๘ แห่ง

  47. กิจกรรมและงบประมาณ ๓. หลังการการระบาด ๓.๑ พัฒนา ศจช. (เดิม) ๙๓๐ แห่ง ๓.๑.๒ ศจช. โครงการการจัดการเพลี้ยแป้งฯ ๕๗๒ แห่ง *โครงการปรับระบบการผลิตสินค้าเกษตรก(เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง)

  48. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับกรมวิชาการเกษตรโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับกรมวิชาการเกษตร กวก. กสก. ระดับพื้นที่(ชุมชน) เป้าหมาย • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังระดับชุมชน • ศจช.มีความเข้มแข็งสามารถเป็นกลไกในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังได้ บริหารจัดการการผลิตของชุมชน ศจช. 572 สสจ.+สพส. แปลงติดตามสถานการณ์ • มาตรการเสริม : • - คณะทำงานความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับกรมวิชาการเกษตรระดับจังหวัด • คณะอนุกรรมการบริหารความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับกรมวิชาการเกษตรระดับเขต • การวิจัยในงานประจำ (R2R)

  49. กิจกรรมและงบประมาณ ๓. หลังการการระบาด ๓.๒ ติดตามให้คำแนะนำและประเมินผลโครงการ

  50. ตัวอย่าง มาตรการ การจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดยใช้ห้วงเวลาในการดำเนินการ

More Related