1 / 67

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. Thai Qualifications Framework for Higher Education. โดย ผศ . ดร . สมชัย หิรัญวโรดม. ประกาศ ศธ.เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ.

Download Presentation

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education โดย ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม

  2. ประกาศ ศธ.เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประกาศ กกอ.เรื่องแนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สกอ มาตรฐานคุณวุฒิ/สาขาวิชาต่าง ๆ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร • 5 ปี เกณฑ์กำหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์แนวทางอื่นๆ มหาวิทยาลัย สภาสถาบันอนุมติ เสนอ วางแผนปรับปรุง + พัฒนา รายละเอียดของหลักสูตร(Programme Specification) 1 ปี ติดตาม การดำเนินการตาม TQF ไม่ เสนอ ใช่ สกอ.รับทราบหลักสูตรและบันทึกไว้ในฐานข้อมูล รายละเอียดของรายวิชาและภาคสนาม/ฝึกงาน(ถ้ามี)(Course + Field Experience Specification) รายงานประจำภาค และประจำปีการศึกษา(Semester/Annual Programme Report) ใช่ 1 กระบวนการเรียนการสอน(ที่ทำให้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง) รายงานรายวิชา (Course Reports) เผยแพร่หลักสูตรที่ดำเนินการได้มาตรฐาน TQF การวัดและประเมินผล มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ของนักศึกษา/บัณฑิต (POD Network) Teaching Unit การจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สภาพแวดล้อม นักศึกษา/บัณฑิตได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(บัณฑิตมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้จ้างงานและสังคม) 1 กก.อ. กำหนดหลักเกณฑ์การปรับปรุง.

  3. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม ระดับคุณวุฒิ (Level of Qualifications) ระดับที่ 1 อนุปริญญา (3 ปี) ระดับที่ 2 ปริญญาตรี ระดับที่ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับที่ 4 ปริญญาโท ระดับที่ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับที่ 6 ปริญญาเอก

  4. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม การเรียนรู้(Domains of Learning) 1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) 2 ด้านความรู้ (Knowledge) 3 ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ(Interpersonal Skills and Responsibility) 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)

  5. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ แห่งชาติ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา หลักสูตร การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ สู่หลักสูตร

  6. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 1 การพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาต่างๆ ในแต่ละระดับคุณวุฒิ 1.1มาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา 1.2การจัดทำมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา

  7. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม 1.3องค์ประกอบของมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา มีดังนี้ • ชื่อมาตรฐานคุณวุฒิ • ชื่อสาขาวิชา • ชื่อปริญญา • ลักษณะของสาขาวิชา • คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

  8. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม 1.3องค์ประกอบของมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ต่อ) (6) มาตรฐานผลการเรียนรู้ (7) องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (8) โครงสร้างหลักสูตร (9) เนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา (10) กลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ (11) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้

  9. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม 1.3องค์ประกอบของมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ต่อ) (12) คุณสมบัติผู้เข้าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้ (13) อาจารย์และบุคลากรสนับสนุน (14) ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ (15) แนวทางในการพัฒนาอาจารย์ (16) การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

  10. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม 1.3องค์ประกอบของมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ต่อ) (17) การนำมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา สู่การปฏิบัติใน หลักสูตร/โปรแกรม เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ การอุดมศึกษากำหนด (18) การเผยแพร่หลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา ระดับอุดมศึกษา (19) รายชื่อคณะกรรมการจัดทำมาตรฐาน คุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา

  11. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร(Programme Specification) รายละเอียดของหลักสูตร หมายถึง คำอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนที่จะทำให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตรนั้นๆ

  12. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรในระยะแรก • กรณีกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศมาตรฐานคุณวุฒิของระดับคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชานั้นแล้ว • พิจารณาความพร้อมและศักยภาพของสถาบันฯ ในการบริหารจัดการหลักสูตร • แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร • อย่างน้อย 5 คน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 2 คน บุคคลภายนอกอย่างน้อย 2 คน • (3) การพัฒนาหลักสูตร(Curriculum Mapping) • กรณีกระทรวงศึกษาธิการยังมิได้ประกาศมาตรฐานคุณวุฒิของระดับคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชานั้น • พิจารณาความพร้อมและศักยภาพของสถาบันฯ ในการบริหารจัดการหลักสูตร • แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร • อย่างน้อย 5 คน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 2 คน บุคคลภายนอกอย่างน้อย 2 คน • (3) การพัฒนาหลักสูตร/ปรับปรุงต้องทำความเข้าใจมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน(Curriculum Mapping)

  13. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม • การจัดทำรายละเอียดของรายวิชา(Course Specification) • รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม(Field Experience Specification)

  14. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม • การขออนุมัติหลักสูตรต่อสภาสถาบันอุดมศึกษา • การเสนอหลักสูตรต่อสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา • การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอน

  15. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม • การจัดทำรายงานผลการดำเนินการของ รายวิชา(Course Report) • รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม(Field Experience Report) • รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร (Programme Report)

  16. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม • รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร (Programme Report) • เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนของแต่ละภาคการศึกษา/ ปีการศึกษา • เมื่อครบรอบหลักสูตร 4-5 ปี

  17. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม • การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง • มหาวิทยาลัยต้องมีการประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง • อาจมีตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินเพิ่มเติม • มหาวิทยาลัยต้องรายงานผลการประเมินประกันคุณภาพ ภายใน ต่อ สกอ. • มหาวิทยาลัยต้องนำผลการประเมินมาปรับปรุงหลักสูตร

  18. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม Thai Qualifications Register:TQR มหาวิทยาลัย ต้องลงทะเบียนหลักสูตรตาม TQF ให้ได้ ภายในอย่างน้อย 2 ปี เป็นหลักสูตรที่ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยก่อนเปิดสอนและได้แจ้งให้ สกอ.ทราบ ภายใน 30 วัน

  19. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม Thai Qualifications Register:TQR (ต่อ) ผลการประเมินคุณภาพภายในตามตัวบ่งชี้ต้องมีคะแนนเฉลี่ยระดับดี ขึ้นไป ต่อเนื่องกัน 2 ปี นับตั้งแต่เปิดสอนหลักสูตร จึงจะได้รับการเผยแพร่ ว่าหลักสูตรดังกล่าวมีมาตรฐาน หลักสูตรใดไม่ได้รับการเผยแพร่ มหาวิทยาลัยต้องดำเนินการปรับปรุง ตามเงื่อนไขที่ สกอ.จะกำหนดจากผลการประเมินต่อไป

  20. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม Thai Qualifications Register:TQR (ต่อ) กรณีหลักสูตรใด ได้รับการเผยแพร่แล้ว ต้องรักษาระดับคะแนนเฉลี่ย จากการประเมินเป็น ดี อยู่เสมอ หากทำไม่ได้ จะถูกพิจารณาถอนการเผยแพร่หลักสูตรนั้น

  21. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา โดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจะดำเนินการให้มีการกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติเพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน ตามเจตนารมณ์และแนวปฏิบัติของประกาศฉบับนี้

  22. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ คุณภาพบัณฑิต มาตรฐานการอุดมศึกษา การบริหารจัดการการอุดมศึกษา การสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) (มคอ.1-7)

  23. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิระดับ…สาขา… หมายถึง กรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตของสาขา/สาขาวิชาหนึ่ง มีการกำหนดองค์ความรู้ที่เป็นเนื้อหาที่จำเป็น ต้องเปิดกว้างและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยต่างๆมีโอกาสบรรจุเนื้อหาวิชาในส่วนที่นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ได้อย่างอิสระ เหมาะสม และตรงกับความต้องการหรือเอกลักษณ์ ของแต่ละมหาวิทยาลัย

  24. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม มคอ.1 • ชื่อสาขา/สาขาวิชา • ชื่อปริญญาและสาขาวิชา • ลักษณะของสาขา/สาขาวิชา • คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ • มาตรฐานผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) • องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง

  25. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม มคอ.1(ต่อ) 7. โครงสร้างหลักสูตร 8. เนื้อหาสาระสำคัญของสาขา/สาขาวิชา 9. กลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ 10. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ 11. คุณสมบัติผู้เข้าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้ 12. คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน

  26. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม มคอ.1(ต่อ) 13. ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ 14. แนวทางการพัฒนาคณาจารย์ 15. การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 16. การนำมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมศาสตร์สู่การปฏิบัติ 17. การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ

  27. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม สำหรับ มคอ.1 เป็นหน้าที่ของสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย เป็นผู้ดำเนินการ โดยความร่วมมือจากคณาจารย์ ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ทั่วประเทศ และส่งมอบให้กับ สกอ. เพื่อให้ กกอ. พิจารณา ปรับปรุง แก้ไข และประกาศใช้

  28. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม มคอ.2 ส่วนประกอบของรายละเอียดของหลักสูตร หมวดที่ 1.ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2.ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร หมวดที่ 3.ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร

  29. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม มคอ.2 ส่วนประกอบของรายละเอียดของหลักสูตร (ต่อ) หมวดที่ 4.ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการ ประเมินผลการเรียนรู้ หมวดที่ 5.หลักเกณฑ์ในการประเมินผล ก่อน หลัง หมวดที่ 6.การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร

  30. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม มคอ.2 ส่วนประกอบของรายละเอียดของหลักสูตร (ต่อ) หมวดที่ 7.การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที่ 8.การประเมินและปรับปรุง การดำเนินการหลักสูตร

  31. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร2.ชื่อปริญญาและสาขาวิชา3.วิชาเอก (ถ้ามี)4.จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร5.รูปแบบของหลักสูตร1.รูปแบบ2.ภาษาที่ใช้3.การรับเข้าศึกษา4.ความร่วมมือกับสถาบันอื่น5.การใช้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา มคอ.2

  32. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) 6.สถานภาพของหลักสูตร7.ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 8.อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา9.ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร10.สถานที่จัดการเรียนการสอน มคอ.2

  33. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) 11.สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร1.สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ2.สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม12.ผลกระทบจากข้อ 111.สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ2.สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม13.ความสัมพันธ์(ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นในสถาบัน มคอ.2

  34. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 2ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1.ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร2.แผนพัฒนาปรับปรุง1.แผนการพัฒนา/การเปลี่ยนแปลง (กลยุทธ์ kpi)2.กลยุทธ์3.หลักฐาน/ตัวชี้วัด มคอ.2

  35. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 3ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร 1.ระบบการจัดการศึกษา1.ระบบ2.การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน3.การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค2.การดำเนินการหลักสูตร1.วัน-เวลา ในการดำเนินการ การเรียนการสอน2.คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา มคอ.2

  36. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 3ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร 2.การดำเนินการหลักสูตร (ต่อ)3.ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า4.กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจำกัดของนักศึกษา5.แผนการรับนักศึกษาและจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ในระยะ 5 ปี6.งบประมาณตามแผน7.ระบบการศึกษา อาทิ แบบชั้นเรียน 8.การเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา และการลงทะเบียนข้ามสถาบัน มคอ.2

  37. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 3ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร (ต่อ) 3.หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน1.หลักสูตร1.จำนวนหน่วยกิต2.โครงสร้างหลักสูตร3.รายวิชา4.แผนการศึกษา5.คำอธิบายรายวิชา 2.ชื่อ เลขประจำตัวประชาชน ตำแหน่ง และคุณวุฒิ1.อาจารย์ประจำหลักสูตร2.อาจารย์ประจำ3.อาจารย์พิเศษ มคอ.2

  38. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 3ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร (ต่อ) 4.องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม1.มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม2.ช่วงเวลา3.การจัดเวลาและตารางสอน 5.ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย1.คำอธิบายโดยย่อ2.มาตรฐานผลการเรียนรู้3.ช่วงเวลา4.จำนวนหน่วยกิต5.การเตรียมการ6.กระบวนการประเมินผล มคอ.2

  39. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 4ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์ การสอนและการประเมิน 1.การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา2.การพัฒนาผลการเรียนรู้แต่ละด้าน 5 ด้าน1.ผลการเรียนรู้ที่ต้องพัฒนา2.กลยุทธ์การสอน3.กลยุทธ์การประเมิน3.แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping) มคอ.2

  40. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 5หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 1.กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)2.กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาก่อน (รายวิชา) หลังจบ3.เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของหลักสูตร มคอ.2

  41. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 6การพัฒนาอาจารย์ 1.การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่2.การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์1.การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน2.การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพอื่นๆ มคอ.2

  42. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 7การประกันคุณภาพ 1.การบริหารหลักสูตร (เป้าหมาย ดำเนินการ ประเมินผล)2.การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน1.การบริหารงบประมาณ2.ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม3.การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม4.การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร มคอ.2

  43. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 7การประกันคุณภาพ (ต่อ) 3.การบริหารคณาจารย์1.การรับอาจารย์ใหม่2.การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตาม และทบทวนหลักสูตร3.การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ มคอ.2

  44. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 7การประกันคุณภาพ (ต่อ) 4.การบริหารบุคลากรสายสนับสนุน การเรียนการสอน1.การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่ง 2.การเพิ่มทักษะความรู้สำหรับการปฏิบัติงาน มคอ.2

  45. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 7การประกันคุณภาพ (ต่อ) 5.การสนับสนุนและให้คำแนะนำ แก่นักศึกษา1.การให้คำปรึกษาด้านวิชาการ และอื่นๆ แก่นักศึกษา 2.การอุธรณ์ของนักศึกษา มคอ.2

  46. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 7การประกันคุณภาพ (ต่อ) 6.ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือ ความพึงพอใจ7. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน มคอ.2

  47. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 8การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร การประเมินประสิทธิผลของการสอน1.การประเมินกลยุทธ์การสอน2.การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้กลยุทธ์การสอน2.การประเมินหลักสูตรในภาพรวม3.การประเมินผลการดำเนินงานตามที่กำหนด ในรายละเอียดหลักสูตร4.ทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง ภาคผนวก (ระเบียบ คำอธิบายรายวิชา) มคอ.2

  48. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม มคอ.3 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไปหมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการหมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาหมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินหมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอนหมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการ ดำเนินการของรายวิชา

  49. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป 1.รหัสและชื่อหลักสูตร2.จำนวนหน่วยกิต3.หลักสูตรและประเภทของรายวิชา4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน5.ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน มคอ.3

  50. ผศ.ดร.สมชัย หิรัญวโรดม หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) 6.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite)7.รายวิชาที่ต้องเรียนมาพร้อมกัน (Co-requisites)8.สถานที่เรียน9.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียด ของรายวิชาครั้งล่าสุด มคอ.3

More Related