620 likes | 926 Views
ความสูญเปล่าทางการศึกษา. ที่มา : เม.ย. 56. ดร. ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (กอศ.) เปิดเผยว่า ข้อมูล ในปีการศึกษา 2554 พบว่า นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ที่ มีทั้งหมดกว่า 400,000 คน มีปัญหา การ ออก กลางคันประมาณ 34,000 คน.
E N D
ความสูญเปล่าทางการศึกษาความสูญเปล่าทางการศึกษา ที่มา:เม.ย. 56 ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (กอศ.) เปิดเผยว่าข้อมูลในปีการศึกษา 2554 พบว่า นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ที่มีทั้งหมดกว่า 400,000 คน มีปัญหาการ ออกกลางคันประมาณ 34,000 คน (งบเฉลี่ยรายคน 6,816 บาท x 34,000 คน = 231,744,000บาท)
แนวโน้มสถานการณ์จำนวนผู้เรียนที่ออกกลางคันฯแนวโน้มสถานการณ์จำนวนผู้เรียนที่ออกกลางคันฯ ปีการศึกษา 2554 และ 2556 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา คน ที่มาข้อมูล : ปี 54 นสพ.เดลินิวส์ ปี 56 ศูนย์เทคโนโลยีฯ สอศ.
งบประมาณที่สูญเปล่า ปีการศึกษา 2554 และ2556 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปี56 = 6ร้อยล้าน สถานศึกษา (บาท) ปวช.เกษตรกรรม คนละ 11,900 บาท/ปี ปี54 = 2ร้อยล้าน ปวช.อุตสาหกรรม คนละ 6,500 บาท/ปี ปวช.พาณิชยกรรม คนละ 4,900 บาท/ปี
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดจำนวนผู้เรียนที่ออกกลางคัน 2. เพื่อนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการดำเนินงาน
วิทยาลัยการอาชีพสอง จังหวัดแพร่ ออกตัว
ที่มาและความสำคัญของปัญหาที่มาและความสำคัญของปัญหา 5 Day = 1 Students Who will drop out of college เฉลี่ยปีละ 85 คน ที่มา: ข้อมูลงานทะเบียน วิทยาลัยการอาชีพสอง ปีการศึกษา 53-55 เผชิญ
สถิติผู้เรียนออกกลางคัน ระหว่างปีการศึกษา 2553-2555 วิทยาลัยการอาชีพสอง เฉลี่ยปีละ 85 คน เฉลี่ยคน 6,816 บาท x 255 คน = 1,738,080 บาท :3 ปี
1.วิจัยศึกษาสภาพปัญหาและสาเหตุ1.วิจัยศึกษาสภาพปัญหาและสาเหตุ 5 ด้าน ปัญหาของการออกกลางคัน อันดับ 1. ด้านผู้เรียน 3.02 อันดับ 2. ด้านครอบครัว 2.75 อันดับ 3. ด้านสภาพแวดล้อม 2.60 อันดับ 4. ด้านสถานศึกษา 2.54 อันดับ 5. ด้านหลักสูตรและรายวิชา 2.49 ที่มา: ผลการวิจัยปัญหาและสาเหตุการออกกลางคันของนักเรียน วิทยาลัยการอาชีพสอง ปี 2555
5สาเหตุ จากปัญหาด้านผู้เรียน อันดับ 1. ขาดเรียนมาก 3.24 อันดับ 2. ผลการเรียนเฉลี่ยต่ำ 3.08 อันดับ 3.สิ่งเสพติด 3.08 อันดับ 4. ไม่ชอบในสาขาที่เรียน 2.94 อันดับ 5. รักในวัยเรียน 2.76 ที่มา: ผลการวิจัยปัญหาและสาเหตุการออกกลางคันของนักเรียน วิทยาลัยการอาชีพสอง ปี 2555
2.ประชุมผู้เกี่ยวข้อง หาแนวทางแก้ไข มีโอกาสพบปะ ครู ที่ปรึกษา ผู้ปกครอง
การเช็คชื่อมา /เข้าเรียน -ข้อมูลที่บันทึกเกิดการ สูญหาย -ครูที่ปรึกษา ไม่ได้นำแฟ้มมา/ลืม -การประมวลข้อมูล ไม่เป็นปัจจุบัน -ผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ทราบ เกิดปัญหาตามมาภายหลัง (ครูประจำวิชา, ครูที่ปรึกษา, ผู้ปกครอง, ผู้เรียน) ฯลฯ เริ่มต้นใกล้ตัว ควบคุมได้
หลักคิด “มาและเข้าเรียนทุกครั้ง ลดความเสี่ยง Drop out” เงื่อนไข “เมื่อผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ทราบข้อมูลการขาดเรียนของผู้เรียน ให้รีบดำเนินการแก้ไขปัญหานั้น”
3.อบรมวิธีการใช้งานให้กับครูและผู้เกี่ยวข้อง3.อบรมวิธีการใช้งานให้กับครูและผู้เกี่ยวข้อง สร้างทัศคติ
4.ประชุม ชี้แจงผู้ปกครอง ให้ความสำคัญ สร้างเครือข่าย
5. ดำเนินการ บันทึกข้อมูล เข้าเรียน= เช็คชื่อในชั่วโมงสอน โดยครูผู้สอนทุกวิชาในแต่ละวัน หากไม่เข้าเรียน :-ผู้ปกครองทราบ ผ่าน SMS - ครูที่ปรึกษาทราบ ผ่าน ระบบฯ - ผู้บริหารทราบ ผ่าน ระบบฯ มาเรียน= เช็คชื่อหน้าเสาธง โดยครูที่ปรึกษา หากไม่มา: ผู้ปกครองทราบผ่าน SMS และเวปไซต์ แรกกังวล สว. ช้าหลุด รับฟัง แก้ไข ระบบเดินต่อไป
เหตุผลที่เลือกใช้ SMS 1. เป็นสื่อที่เข้าถึงผู้ปกครองได้โดยตรง 2.สะดวก รวดเร็ว ทันใจ และมีประสิทธิภาพสูง 3.ราคาถูก เมื่อเปรียบเทียบกับสื่ออื่นๆ 4. นำผลมาเป็นตัวชี้วัดได้ทันที 5. ใช้ในการเตือนต่างๆ (SMS Alert) 6.เชื่อมต่อกับโปรแกรมกับระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ 7. สร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง (การประชุมผู้ปกครอง เทอม 1/56 ร้อยละ 96 เห็นด้วยและพึงพอใจ) 8. ควบคุมการใช้ SMS และตรวจสอบการใช้งานได้ตลอดเวลา 9. ประยุกต์ใช้แจ้งข่าวสารแก่บุคลากรของสถานศึกษา
6. ขั้นติดตาม ตรวจสอบข้อมูล
ครูที่ปรึกษา การเช็คชื่อ พิมพ์รายงาน
ติดตาม......โดยครูที่ปรึกษาติดตาม......โดยครูที่ปรึกษา ระดับของความเสี่ยง (risk value) = ขาดเกิน 20 % = ขาดเกิน 15 % = ขาดเกิน 10 % วก.สอง ปกติ324 เสี่ยง 111 ปัญหา 73 (183) ช่วยคัด-วิเคราะห์
ผู้บริหาร (ข้อมูลภาพรวมการขาดเรียน รายวัน)
ผู้บริหาร (สรุปข้อมูลภาพรวมการเข้าแถว ประจำวัน)
ผู้บริหาร ระดับของความเสี่ยง (risk value) (ข้อมูลการเข้าแถว สะสม) = ขาดเกิน 20 % = ขาดเกิน 15 % = ขาดเกิน 10 %
แนะนำวิธีการตรวจสอบการมาเรียนของนักเรียน นักศึกษา ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
1.ไปที่เวปไซต์ของสถานศึกษา1.ไปที่เวปไซต์ของสถานศึกษา โดยพิมพ์ www. xxx .ac.th
2. ใส่รหัสประจำตัวนักศึกษา 10 หลัก 3. กดปุ่มค้นหา ตัวอย่างเช่น5621010001
7.การช่วยเหลือ ผู้เรียน กลุ่มเสี่ยง เยี่ยมบ้าน ประชุมผู้ปกครองกลุ่มเสี่ยง สำคัญสุด ระบบจะไม่เกิดประโยชน์ ปัญหาไม่ได้รับแก้ไข
สรุป กิจกรรม ผู้เกี่ยวข้อง เครื่องมือ
ปีการศึกษา 2556 ผลการดำเนินการใช้ระบบติดตามดูแลผู้เรียน1 ปีการศึกษา ที่ผ่านมา.......
กราฟแสดงจำนวนผู้เรียนที่ไม่เข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง ภาคเรียนที่ 1/2556
ผู้เรียนที่ออกกลางคันผู้เรียนที่ออกกลางคัน ที่มา : งานทะเบียน ณ วันที่ 19 ก.พ.57
เหตุการณ์ 1: นักเรียนถูกทำร้ายร่างกาย( นร. ปวช. 1 ช่างยนต์ เหตุเกิด เมื่อ เดือน พ.ค.56) ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง นักเรียนไม่เข้าแถว ออกไปหาที่หอพัก ถูกวัยรุ่นในพื้นที่ทำร้าย ปรับความเข้าใจโดยผู้นำชุมชน
เหตุการณ์ 2: นักเรียนขาด 2 สัปดาห์( นศ. ปวช. 2ช่างยนต์ เหตุเกิด เมื่อ เดือน มิ.ย.56) ผู้อำนวยการ ขาดเรียนสะสม กลับมาเรียน ครูที่ปรึกษา เยี่ยมบ้าน
เหตุการณ์ 3: สร้างความเชื่อมั่นผู้ปกครองนักเรียนใหม่ ปีการศึกษา 2557( วันที่ 8 พ.ค. 57 ) นางชไมพร อ่อนชัย อยู่บ้านเลขที่ 10 หมู่ที่ 11 บ้านท่อสมาน ต.เตาปูน อ.สอง จ.แพร่ ผู้ปกครองของ นายภาณุพงษ์ อ่อนชัย รหัสประจำตัว 5721010016 ชั้น ปวช. 1/1 สาขางานยานยนต์ http://www.song.ac.th/song_web55/
การนำไปใช้กับนักศึกษาระบบทวิภาคี บริษัท อีซูซุแพร่ จำกัด ภาคเรียนที่ 2/2556
เหตุการณ์3:นักเรียนทวิภาคีขาดเหตุการณ์3:นักเรียนทวิภาคีขาด *เฉพาะวันพฤหัสบดี ( นศ. ปวส. 1ช่างยนต์ทวิภาคี) ครูนิเทศ
ผลสำรวจความพึงพอใจผู้ปกครองต่อระบบการติดตามดูแลผู้เรียนในภาคเรียนที่ผ่านมา.....ผลสำรวจความพึงพอใจผู้ปกครองต่อระบบการติดตามดูแลผู้เรียนในภาคเรียนที่ผ่านมา.....
คำถามข้อที่ 1 : ท่านเคยได้รับ SMS จากทางวิทยาลัยฯ เคยรับ 74.22 % ไม่เคยรับ 25.78 % ตรวจสอบเบอร์
คำถามข้อที่ 2 : เมื่อได้รับ SMS ท่านเปิดอ่านหรือไม่ อ่านทุกครั้ง 72.44 % อ่านเกือบทุกครั้ง 14.44 % ไม่เคยเปิดอ่าน 13.56 % สร้างความตระหนัก