330 likes | 503 Views
File : ba291_welcome_05.swf. หัวเรื่อง : หน้ายินดีต้อนรับเข้าบทเรียน. ยินดีต้อนรับเข้าสู่ BA 291 Introduction to Business ( ธุรกิจเบื้องต้น) บทที่ 5 การบริหารงาน. คลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่บทเรียน. ENTER. แสดงข้อความ และ Mascot คลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่บทเรียน. เสียงดนตรี.
E N D
File : ba291_welcome_05.swf หัวเรื่อง : หน้ายินดีต้อนรับเข้าบทเรียน ยินดีต้อนรับเข้าสู่ BA 291 Introduction to Business (ธุรกิจเบื้องต้น) บทที่ 5 การบริหารงาน คลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่บทเรียน ENTER • แสดงข้อความ และ Mascot • คลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่บทเรียน เสียงดนตรี
File : ba291_05_welcome.swf หัวเรื่อง : หน้าเปิดบทเรียน พบ.291 ธุรกิจเบื้องต้น (Introduction to Business) บทที่ 5 การบริหารงาน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. คลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่บทเรียน ENTER • แสดงข้อความ สวัสดีครับนักศึกษา ยินดีต้อนรับนักศึกษาเข้าสู่ บทที่ห้า เรื่องการบริหารงาน ขอวัตถุประสงค์ครับ
File : ba291_05_home.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 1 สารบัญบท หน้าที่ทางการบริหาร การวางแผน การจัดองค์การ การควบคุม คลิกบทเรียนที่ต้องการศึกษา เสียง music background ขอหัวข้อ เพิ่มเติมด้วยครับ • Mouse over ที่ปุ่ม แสดง active bottom • คลิก หน้าที่ทางการบริหาร ลิงค์ไป File : ba291_05_01.swf • คลิก การวางแผน ลิงค์ไป File : ba291_05_03.swf • คลิก การจัดองค์การ ลิงค์ไป File : ba291_05_05.swf • คลิก การควบคุม ลิงค์ไป File : ba291_05_09.swf
File : ba291_05_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเปิดบทเรียน การบริหารงาน หน้าที่ทางการบริหาร เจ้าของธุรกิจ ทรัพยากร • แสดงภาพ + เสียงบรรยาย สวัสดีครับ ในบทที่ 7 นี้ เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับ การบริหารทรัพยากร ซึ่งการบริหารคือหน้าที่ในการใช้ทรัพยากรทั้งที่เป็นคนและทรัพยากร อื่น ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนที่ได้กำหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจใดๆ ผู้ประกอบการธรุกิจหรือเจ้าของธุรกิจจะต้องทำหน้าที่บริหารธุรกิจเพื่อให้แน่ใจว่าทรัพยากรทั้งหลายในกิจการนั้นจะถูกใช้อย่างถูกต้องเหมาะสมเพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายที่กำหนดไว้
File : ba291_05_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน หน้าที่ทางการบริหาร 1 ผู้บริหารระดับสูง (Top Management) ทำหน้าที่กำหนดทิศทางและเป้าหมายระยะยาวของกิจการ ตำแหน่งเช่น ประธานกรรมการ ประธานผู้บริหาร กรรมการผู้จัดการ ฯลฯ จัดว่าเป็นผู้บริหารระดับสูง งานส่วนใหญ่เป็นการกำหนดนโยบายและมองภาพรวมของกิจการ 2 ผู้บริหารระดับสูง (Top Management) 3 ผู้บริหารระดับกลาง ( Middle Management) ผู้บริหารระดับต้น (Supervisory/First-Line Management) วางเมาส์ที่ภาพเพื่อแสดงคำอธิบาย • เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง • แสดงภาพ+ข้อความ • แสดง pop up เมื่อนำเมาส์ไปวางที่ภาพ • เมื่อนำเมาส์ไปวางแสดงลูกศรชี้ไปยังกล่องข้อความ พร้อมกับปรากฏกล่องข้อความ ผู้ที่ทำหน้าที่นี้คือ “ผู้บริหาร” ซึ่งอาจจะแบ่งได้เป็น 3 ระดับคือ ผู้บริหารระดับสูง (Top Management) ผู้บริหารระดับกลาง ( Middle Management) ผู้บริหารระดับต้น (Supervisory/First-Line Management) นักศึกษาสามารถดูคำอธิบายเพิ่มเติมโดยการนำเมาส์ไปวางที่ภาพได้เลยค่ะ ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับกลาง ( Middle Management) ทำหน้าที่ตัดสินใจและวางแผนระยะสั้นถึงระยะปานกลางจะอยู่กลางระหว่างผู้บริหารระดับสูงแบะผู้บริหารระดับต้นที่จะรับเอาแผนของผู้บริหารสูงมาเปลี่ยนให้เป็นแผนปฏิบัติงานโดยบังคับบัญชามอบหมายไปยังผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับงานปฏิบัติมากขึ้นกว่าผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับต้น (Supervisory/First-Line Management) ทำหน้าที่บังคับบัญชาผู้ปฏิบัติงานและเกี่ยวข้องกับงานปฏิบัติประจำวันเป็นส่วนใหญ่ ทำหน้าที่ตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกิดกับงานประจำหรือวางแผนระยะสั้น ผู้บริหารระดับต้นได้แก่ ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ หัวหน้าส่วนธุรการ หัวหน้าพนักงานขาย ฯลฯ
File : ba291_05_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน หน้าที่ทางการบริหาร การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ(Organizing) การนำและบังคับบัญชา (Leading) การควบคุม (Controlling) คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา • แสดงปุ่ม+เสียงบรรยาย • เมื่อคลิก แสดงดังนี้ • เมื่อคลิกปุ่ม การวางแผน แสดง File : ba291_05_03.swf • เมื่อคลิกปุ่ม การจัดองค์การ แสดง File : ba291_05_05.swf • เมื่อคลิกปุ่ม การนำและบังคับบัญชา แสดงFile : ba291_05_07.swf • เมื่อคลิกปุ่ม การควบคุม แสดง File : ba291_05_09.swf เพื่อให้การใช้ทรัพยากรทั้งหลายในกิจการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารธุรกิจจะต้องทำหน้าที่ดังต่อไปนี้คือ
File : ba291_05_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การวางแผน (Planning) การกำหนดว่ากิจการต้องการจะเป็นอะไรในอนาคต เป็นภาพในอนาคตที่กิจการต้องการจะเป็นหรือต้องการให้สาธารณชนรับรู้ เช่น “บริษัทจะเป็นผู้นำในธุรกิจโทรคมนาคมของเอเชีย วิสัยทัศน์ (Vision) เหตุผลของการมีอยู่และดำรงอยู่ของกิจการ หรือการตอบคำถามว่ากิจการนั้น”อยู่ในธุรกิจอะไร” เช่น บริษัทของเรา”เป็นผู้จัดหาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีคุณภาพสูงให้กับสถานพยาบาลขนาดใหญ่ในประเทศไทย” พันธกิจ (Mission) การกำหนดอนาคตของกิจการ • แสดงภาพ + เสียงบรรยาย • ปุ่ม เมื่อคลิกแสดงกล่องข้อความตามสีปุ่ม เป็นหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดอนาคตของกิจการ ในการทำหน้าที่นี้ผู้บริหารจะเริ่มจากการกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) ของกิจการ วิสัยทัศน์คือการกำหนดว่ากิจการต้องการจะเป็นอะไรในอนาคต เป็นภาพในอนาคตที่กิจการต้องการจะเป็นหรือต้องการให้สาธารณชนรับรู้ เช่น “บริษัทจะเป็นผู้นำในธุรกิจโทรคมนาคมของเอเชีย” พันธกิจคือ เหตุผลของการมีอยู่และดำรงอยู่ของกิจการ หรือการตอบคำถามว่ากิจการนั้น”อยู่ในธุรกิจอะไร” เช่น บริษัทของเรา”เป็นผู้จัดหาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีคุณภาพสูงให้กับสถานพยาบาลขนาดใหญ่ในประเทศไทย”
File : ba291_05_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การวางแผน (Planning) แผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) แผนยุทธวิธี (Tactical Plan) แผนฉุกเฉิน (Contingency Plan) แผนปฏิบัติการ (Operational Plan) คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา • แสดงปุ่ม+เสียงบรรยาย • เมื่อคลิก แสดง jigsaw ขยับ และแสดงเนื้อหา • แสดง pop up ดังสไลด์ถัดไป เมื่อกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจแล้ว ผู้บริหารจะทำการว่างแผน ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของแผนได้ดังต่อไปนี้
File : ba291_05_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การวางแผน (Planning) แผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) เป็นแผนระยะยาวของกิจการเพื่อจะนำกิจการไปสู่วิสัยทัศน์ ที่กำหนดไว้ แผนนี้เป็นหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้กำหนด โดยจะ กำหนดเป้าหมายและกลยุทธ์เพื่อที่จะนำพาธุรกิจไปสู่วิสัยทัศน์ภายใต้พันธกิจกำหนด เป็นแผนที่มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมการใช้ทรัพยากร ระยะยาวจองกิจการ • แสดง pop up เสียงดนตรี แผนยุทธวิธี แผนยุทธวิธี (Tactical Plan) แผนนี้เป็นหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูงและระดับกลางร่วมกันรับผิดชอบ เป็นแผนที่มีระยะสั้น แผนยุทธวิธีเป็นเสมือนทางผ่านเพื่อให้แผนกลยุทธ์ประสบความสำเร็จ แผนปฏิบัติการ แผนปฏิบัติการ (Operational Plan) เป็นเผนที่ลงในรายละเอียดถึงวิธีการปฏิบัติเพื่อทำให้แผนยุทธวิธีประสบความสำเร็จเป็นแผนที่มีระยะสั้นกว่าแผนยุทธวิธีปกติมักจะครอบคลุมเวลา 1 ปี ในแผนปฏิบัติการนี้มักจะมีการกำหนดนโยบาย (Policies) เพื่อเป็นแนวทาง (guidelines) ในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีกรอบในการตัดสินใจ นอกจากนั้นยังมีการกำหนดขั้นตอนระเบียบววิธีปฏิบัติ (Procedures) เอาไว้ด้วยซึ่งจะระบุขั้นตอนการปฏิบัติงานแต่ละอย่างเอาไว้โดยละเอียด แผนฉุกเฉิน แผนฉุกเฉิน (Contingency Plan) เป็นแผนที่วางไว้เผื่อกรณีที่ข้อสมมติฐานหรือเงื่อนไขทางธุรกิจไม่เป็นไปตามที่ระบุไว้โดยจะมีการกำหนดทางเลือกในการปฏิบัติทางเลือกอื่น ๆ ไว้หากสภาพแวดล้อมหรือเงื่อนไขทางธุรกิจเปลี่ยนไป ซึ่งจะทำให้ธุรกิจมีแนวทางปฏิบัติหากเผชิญกับปัญหาที่ไม่คาดคิดหรือภาวะฉุกเฉิน
File : ba291_05_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การจัดองค์การ (Organizing) นโยบาย ............. ............. ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม ผู้บริหาร ผู้จัดการฝ่ายบัญชี กำหนดนโยบายและวางแผนงานด้านบัญชีและการเงิน ควบคุมการจัดทำบัญชี ควบคุมและตรวจสอบการจัดทำงบการเงิน Job Description คลิกที่ภาพเพื่อแสดงหน้าที่และความรับผิดชอบ • แสดงภาพ+เสียงบรรยาย • ทำให้ภาพ ทั้ง 3 ตำแหน่งเป็นปุ่ม • เมื่อคลิกที่ภาพ แสดงข้อความ ดังตัวอย่าง • เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม และผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ อ้างอิงจากข้อความตัวอย่างด้านล่าง การจัดองค์การเป็นหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรคน งาน และทรัพยากรอื่นๆ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกิจการที่กำหนดไว้ ทั้งนั้นเพราะเมื่อกิจการวางแผนและกำหนดเป้าหมายแล้ว ก็จะพบว่ามีงานจำนวนมากที่ต้องทำ จำเป็นจะต้องมีการแบ่งสรรงานเหล่านั้นออกเป็นส่วนๆ และจัดสรรให้พนักงานแต่ละคนทำ มีการกำหนดว่าอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคนจะเป็นอย่างไรและงานแต่ละส่วนที่แยกให้แต่ละคนหรือแต่ละหน่วยงานไปทำนั้นจะต้องมีการประสานงานกันอย่างไร เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม ศึกษาความจำเป็นในการฝึกอบรมของแต่ละแผนกในบริษัท กำหนดวัตถุประสงค์เนื้อหาและขอบเขตของการฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตร ติดต่อวิทยากร จัดเตรียมแบบประเมิน ผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ ผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ กำหนดนโยบาย และทิศทางในการประชาสัมพันธ์บริษัท ควบคุมดูแลการผลิตข่าว การจัดแถลงข่าว
File : ba291_05_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การจัดองค์การ (Organizing) • เมื่อมีงานเปลี่ยนไปมีกำลังคนที่เปลี่ยนไปก็จะมีการจัดงานจัดคนกันใหม่ • เพื่อให้สอดรับกับงานและเป้าหมายที่กำหนดไว้ • งานจะถูกจัดให้อยู่ในโครงสร้าง (Structure) • เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง การจัดองค์การเป็นหน้าที่ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในกิจการ เมื่อมีงานเปลี่ยนไปมีกำลังคนที่เปลี่ยนไปก็จะมีการจัดงาน จัดคนกันใหม่เพื่อให้สอดรับกับงานและเป้าหมายที่กำหนดไว้ งานจะถูกจัดให้อยู่ในโครงสร้าง (Structure) ที่สอดคล้องกับภารกิจและกำลังคนที่มีอยู่ ซึ่งโครงสร้างจะมีอยู่หลายแบบหลายประเภทที่จะได้กล่าวถึงในบทต่อไป
File : ba291_05_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การนำและบังคับบัญชา (Leading) หน้าที่ของผู้บริหารคือการสร้างอิทธิพลต่อผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อผลักดันให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย ผู้บริหารจะต้องทำตัวให้เป็นแบบอย่างหรือเป็นผู้นำที่ดี มีการสื่อสารและจูงใจให้พนักงานทุ่มเททำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้นำแบบเผด็จการ (autocratic) ผู้นำแบบปล่อยตามสบาย (Free-rein / laissez-faire) ผู้นำแบบมีส่วนร่วมหรือแบบประชาธิปไตย (Participative / democratic) คลิกที่ปุ่มเพื่อเลือกประเภท • เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง • แสดง ปุ่ม + ภาพ ซิงค์เสียง • คลิกที่ปุ่มแสดง pop up ดังสไลด์ถัดไป หน้าที่นี้ของผู้บริหารคือการสร้างอิทธิพลต่อผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อผลักดันให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย ผู้บริหารจะต้องทำตัวให้เป็นแบบอย่างหรือเป็นผู้นำที่ดี มีการสื่อสารและจูงใจให้พนักงานทุ่มเททำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ภาวะผู้นำอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะคือ ผู้นำแบบเผด็จการ (autocratic) ผู้นำแบบปล่อยตามสบาย (Free-rein / laissez-faire ผู้นำแบบมีส่วนร่วมหรือแบบประชาธิปไตย (Participative / democratic) นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มเพื่อเลือกศึกษาในแต่ละประเภทได้เลยค่ะ
File : ba291_05_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การนำและบังคับบัญชา (Leading) ผู้นำแบบเผด็จการ (autocratic) ผู้นำแบบนี้เน้นการใชอำนาจอย่างเต็มที่ในการตัดสินใจ ผู้ใต้บังคับบัญชาจะมีส่วนน้อยมากในการให้ข้อมูลหรือตัดสินใจ ผู้นำแบบนี้เน้นการออกคำสั่ง การใช้กฏข้อบังคับและการลงโทษ ผู้นำแบบปล่อยตามสบาย (Free-rein / laissez-faire) จะมอบอำนาจส่วนใหญ่ไปให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาจึงเป็นรูปแบบความเป็นผู้นำที่ตรงกันข้ามกับผู้นำแบบเผด็จการ ผู้นำแบบนี้อาจจะแจ้งเพียงเป้าหมายการทำงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาคิดหาวิธีการปฏิบัติด้วยตัวเอง เป็นผู้นำที่ให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีการควบคุมจูงใจและปฏิบัติงานด้วยตัวเองอย่างเต็มที่ ผู้นำแบบมีส่วนร่วมหรือแบบประชาธิปไตย (Participative / democratic) เป็นผู้นำที่ยอมรับความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชาก่อนทำการตัดสินใจ เปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้แสดงความคิดเห็นและมีการสื่อสารระหว่างกันเสมอๆ มอบหมายงานที่มีคุณค่าและจูงใจผูใต้บังคับบัญชาไม่ใช่เพียงด้วยเงิน แต่ด้วยความรับผิดชอบความภูมิใจที่ได้ทำงานที่สำคัญ
File : ba291_05_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การนำและบังคับบัญชา (Leading) 3 2 1 Put the right man to the right job ผู้นำแบบเผด็จการ (autocratic) ผู้นำแบบปล่อยตามสบาย (Free-rein / laissez-faire) ผู้นำแบบมีส่วนร่วมหรือแบบประชาธิปไตย (Participative / democratic) 4 4 4 ผู้ใต้บังคับบัญชาขาดความรู้ความสามารถ ผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีความสามารถมากพร้อมที่จะทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์และแรงจูงใจสูง ผู้ใต้บังคับบัญชามีความรู้ในงาน่ดีเนื่องจากใกล้ชิดกับงานประจำ ผู้บริหารควรเลือกภาวะผู้นำที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของงานและความรู้ความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชาผู้นำแบบปล่อยตามสบายอาจจะเหมาะกับผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีความสามารถมากพร้อมที่จะทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์และแรงจูงใจสูง ขณะที่หากผู้ใต้บังคับบัญชาขาดความรู้ความสามารถก็ต้องใช้ความเป็นผู้นำแบบเผด็จการ แต่หากผู้ใต้บังคับบัญชามีความรู้ในงาน่ดีเนื่องจากใกล้ชิดกับงานประจำก็ควรใช้ความเป็นผู้นำแบบประชาธิปไตยเพื่อรับข้อมูลจากผู้ใต้บังคับบัญชาก่อนตัดสินใจ • เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง • แสดงตามลำดับ ซิงค์เสียง
File : ba291_05_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การควบคุม (Controlling) หน้าที่ในการติดตามและประเมินผลเพื่อให้แน่ใจว่างานต่างๆ ในกิจการได้ดำเนินไปตามแผนและบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ในการทำหน้าที่นี้ผู้บริหารจะกำหนดมาตรฐานขึ้นมาเพื่อใช้เทียบเคียงกับผลงานที่เกิดขึ้นจริงเช่น • ยอดขาย • จำนวนผลิต • ต้นทุน • กำไร • อื่นๆ การควบคุมคือหน้าที่ในการติดตามและประเมินผลเพื่อให้แน่ใจว่างานต่างๆ ในกิจการได้ดำเนินไปตามแผนและบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ในการทำหน้าที่นี้ผู้บริหารจะกำหนดมาตรฐานขึ้นมาเพื่อใช้เทียบเคียงกับผลงานที่เกิดขึ้นจริง มาตรฐานอาจจะเป็นยอดขายจำนวนผลิตต้นทุนกำไรและอื่นๆที่จะเป็นตัววัดผลงานของกิจการ เมื่อวัดแล้วก็จะทราบว่าเกิดความบกพร่องที่จะต้องแก้ไขปรับปรุงที่จุดใด การควบคุมหรือประเมินผลงานจะต้องทำอย่างต่อเนื่องเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่ได้รับนั้นสนับสนุนต่อความสำเร็จในแผนกลยุทธ์หรือไม่ • เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง
File : ba291_05_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน ทักษะของผู้บริหาร (Managerial Skills) ผู้บริหารจำเป็นจะต้องมีทักษะ 4 ประการเพื่อที่จะสามารถปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะด้านความคิด (Conceptual Skills) ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Skills) ทักษะด้านการปฏิบัติงาน (Technical Skills) ทักษะด้านการตัดสินใจ (Decision-making Skills) คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดง ทักษะแต่ละด้าน • เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง • แสดงภาพ เป็น อนิเมชั่น + ปุ่ม ทั้ง4 ปุ่ม • เมื่อคลิกที่ปุ่มแสดงดังนี้ • เมื่อคลิก ทักษะด้านความคิด แสดง File : ba291_05_11.swf • เมื่อคลิก ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ แสดงFile : ba291_05_12.swf • เมื่อคลิก ทักษะด้านการปฏิบัติงาน แสดงFile : ba291_05_13.swf • เมื่อคลิก ทักษะด้านการตัดสินใจ แสดงFile : ba291_05_14.swf ผู้บริหารจำเป็นจะต้องมีทักษะ 4 ประการเพื่อที่จะสามารถปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ทักษะด้านความคิด (Conceptual Skills) ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Skills) ทักษะด้านการปฏิบัติงาน (Technical Skills) ทักษะด้านการตัดสินใจ (Decision-making Skills) นักศึกษาสามารถคลิกทีปุ่มเพื่อ ศึกษา ทักษะแต่ละด้าน ได้เลยค่ะ
File : ba291_05_11.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน ทักษะของผู้บริหาร (Managerial Skills) ทักษะด้านความคิด ความสามารถในการเข้าใจและเชื่อมโยงงานทุกๆส่วนของกิจการเข้าด้วยกันได้ เป็นทักษะในการคาดคะเนการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การตัดสินใจและการวางแผน • แสดงภาพ+เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง • คลิก back ไปยังหน้าหลัก ทักษะด้านความคิด คือความสามารถในการเข้าใจและเชื่อมโยงงานทุกๆส่วนของกิจการเข้าด้วยกันได้ เป็นทักษะในการคาดคะเนการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การตัดสินใจและการวางแผน ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง
File : ba291_05_12.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน ทักษะของผู้บริหาร (Managerial Skills) ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ความสามารถในการทำงานร่วมกับคนอื่น ความสามารถในการติดต่อสื่อสารไม่เฉพาะกับพนักงานด้วยกันเท่านั้นแต่ยังรวมถึงลูกค้าและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ในงานอีกด้วย • แสดงภาพ+เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง • คลิก back ไปยังหน้าหลัก ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ คือความสามารถในการทำงานร่วมกับคนอื่น ความสามารถในการติดต่อสื่อสารไม่เฉพาะกับพนักงานด้วยกันเท่านั้นแต่ยังรวมถึงลูกค้าและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ในงานอีกด้วย ทักษะนี้จำเป็นสำหรับผู้บริหารในทุกระดับ
File : ba291_05_13.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน ทักษะของผู้บริหาร (Managerial Skills) ทักษะด้านการปฏิบัติงาน ความสามรถในการปฏิบัติงานเข้าใจขั้นตอนเทคนิคและวิธีการทำงานให้ลุล่วง เป็นทักษะที่จำเป็นมากที่สุดสำหรับผู้บริหารระดับต้น ทักษะด้านการปฏิบัติงาน คือความสามรถในการปฏิบัติงานเข้าใจขั้นตอนเทคนิคและวิธีการทำงานให้ลุล่วง เป็นทักษะที่จำเป็นมากที่สุดสำหรับผู้บริหารระดับต้น • แสดงภาพ+เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง • คลิก back ไปยังหน้าหลัก
File : ba291_05_14.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน ทักษะของผู้บริหาร (Managerial Skills) ทักษะด้านการตัดสินใจ • มีความสำคัญสำหรับผู้บริหารทุกระดับเพียงแต่การตัดสินใจของผู้บริหารแต่ละระดับจะต่างกันไปตามปัญหาที่เผชิญ • ผู้บริหารระดับสูงต้องตัดสินใจปัญหาสำคัญๆที่เกี่ยวข้องกับทิศทางและอนาคตของกิจการ • ผู้บริหารระดับกลางตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวกับงานแต่ละด้านที่จะสอดรับกับความสำเร็จของกลยุทธ์ • ผู้บริหารระดับต้นตัดสินใจแก้ปัญหางานประจำวันการตัดสินใจที่ดีจะทำให้สามารถแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ ทักษะด้านการตัดสินใจ มีความสำคัญสำหรับผู้บริหารทุกระดับเพียงแต่การตัดสินใจของผู้บริหารแต่ละระดับจะต่างกันไปตามปัญหาที่เผชิญ ผู้บริหารระดับสูงต้องตัดสินใจปัญหาสำคัญๆที่เกี่ยวข้องกับทิศทางและอนาคตของกิจการ ผู้บริหารระดับกลางตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวกับงานแต่ละด้านที่จะสอดรับกับความสำเร็จของกลยุทธ์ ผู้บริหารระดับต้นตัดสินใจแก้ปัญหางานประจำวันการตัดสินใจที่ดีจะทำให้สามารถแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ ช่วยให้การใช้ทรัพยากรของกิจการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างผลกำไรที่ดี • แสดงภาพ+เสียงบรรยายสอดคล้องกับตัวหนังสือที่แสดง • เนื้อหาต่อสไลด์ถัดไป
File : ba291_05_14.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน ขั้นตอนการตัดสินใจประกอบด้วย ระบุทางเลือกที่เป็นไปได้ รวบรวมข้อมูลของทางเลือกต่าง ๆ ประเมินผลได้ผลเสียของแต่ละทางเลือก ตัดสินใจเลือกและนำไปปฏิบัติ ประเมินผลได้ผลเสียของแต่ละทางเลือก ข้อมูลย้อนกลับ ขั้นตอนการตัดสินใจประกอบด้วย ขั้นที่ 1 ระบุทางเลือกในการตัดสินใจที่เป็นไปได้ ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลของทางเลือกแต่ละทางที่ระบุในขั้นที่ 1 ขั้นที่ 3 ประเมินผลได้ผลเสียของทางเลือกในแต่ละทาง ขั้นที่ 4 ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดและนำไปปฏิบัติ ขั้นที่ 5 ประเมินผลการตัดสินใจ • แสดงภาพ+เสียงบรรยายสอดคล้องกับกล่องข้อความที่แสดง • คลิก back ไปยังหน้าหลัก
File : ba291_05_15.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน โครงสร้างองค์การ (Organizational Structure) รูปแบบโครงสร้าง องค์การหรือธุรกิจ จำเป็นจะต้องมีการจัดโครงสร้างองค์การซึ่งเป็นการจัดแบ่งงานต่างๆ ภายในกิจการออกเป็นส่วนๆ กำหนดว่างานแต่ละส่วนนั้นมีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบอะไรบ้าง และมีความสัมพันธ์ในระหว่างงานแต่ละงานเหล่านั้นอย่างไร โครงสร้างขององค์การนั้นจะแสดงออกมาในรูปของผังองค์การ (Organization chart) ตัวอย่าง คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงภาพตัวอย่าง องค์การทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นธุรกิจหรือองค์การประเภทใดๆ จำเป็นจะต้องมีการจัดโครงสร้างองค์การซึ่งเป็นการจัดแบ่งงานต่างๆ ภายในกิจการออกเป็นส่วนๆ กำหนดว่างานแต่ละส่วนนั้นมีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบอะไรบ้าง และมีความสัมพันธ์ในระหว่างงานแต่ละงานเหล่านั้นอย่างไร การจัดโครงสร้างองค์การจะทำให้รู้ว่าใครอยู่ภายใต้บังคับบัญชาของใคร เพื่อที่จะทำให้เกิดการควบคุมดูแลและผลักดันให้งานก้าวหน้าไปได้อย่างเหมาะสม การจัดโครงสร้างองค์การจึงเท่ากับสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โครงสร้างขององค์การนั้นจะแสดงออกมาในรูปของผังองค์การ ที่นอกจากจะแสดงการแบ่งงานออกเป็นส่วนๆแล้วยังแสดงให้เห็นถึงสายการบังคับบัญชา (Chain of com mand ) ที่ระบุว่าใครจะต้องรายงานกับใครในการปฏิบัติงาน ใครรับผิดชอบกับงานในส่วนไหน นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มตัวอย่างเพื่อแสดงภาพโครงสร้างองค์กร • แสดงภาพ+เสียงบรรยายสอดคล้องกับกล่องข้อความที่แสดง • แสดงปุ่มตัวอย่าง • เมื่อคลิกแสดงภาพองค์กรด้านล่าง
File : ba291_05_16.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน โครงสร้างองค์การ (Organizational Structure) ขนาดของการควบคุม • จำนวนพนักงานที่อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของผู้บริหารคนหนึ่งๆ tall Organizational structure ขนาดการควบคุมแคบ • ผู้บริหารคนหนึ่งบังคับบัญชาพนักงานจำนวนน้อยคน flat Organization structure ขนาดการควบคุมกว้าง • ผู้บริหารคนหนึ่งควบคุมดูแลบังคับบัญชาพนักงานจำนวนมาก • คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงโครงสร้าง ลักษณะโครงสร้างองค์การในธุรกิจแต่ละแห่งจะมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับ ขนาดของการควบคุม และลำดับชั้นในองค์การ การใช้ตำแหน่งงานด้านปฏิบัติ (Line) และงานด้านสนับสนุน (Staff) ขนาดของการควบคุมหมายถึง จำนวนพนักงานที่อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของผู้บริหารคนหนึ่งๆ ขนาดการควบคุมแคบ (narrow span of control) หมายถึงผู้บังคับบัญชาหรือผู้บริหารคนหนึ่งบังคับบัญชาพนักงานจำนวนน้อยคน ตรงกันข้ามขนาดการควบคุมกว้าง (wide span of control) จะหมายถึงผู้บริหารคนหนึ่งควบคุมดูแลบังคับบัญชาพนักงานจำนวนมาก หากงานที่ทำเป็นงานง่ายๆ หรือซ้ำๆ กัน ผู้บริหารสามารถควบคุมคนจำนวนมากได้ ขนาดของการควบคุมจะกว้าง แต่หากงานนั้นยากหรือมีความหลากหลายในการใช้ทักษะเพื่อทำงานนั้น เป็นการยากที่ผู้บริหารหนึ่งคนจะควบคุมพนักงานจำนวนมากได้ขนาดของการควบคุมก็จะแคบ และยังได้แบ่งโครงสร้างขององค์กรออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ โครงสร้างองค์การมีลักษณะสูงขึ้น(tall Organizational structure) และ โครงสร้างที่แบนราบ (flat Organization structure) นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มเพื่อ ศึกษาใสส่วนของโครงสร้างทั้ง 2 ลักษณะได้เลยครับ • แสดงภาพข้อความ+เสียงบรรยาย • แสดงปุ่ม • เมื่อคลิก แสดง ดังนี้ • เมื่อคลิก tall Organizational structure แสดง สไลด์ถัดไป ภาพแรก • เมื่อคลิก flat Organization structure แสดงสไลด์ถัดไป ภาพที่ 2
File : ba291_05_17.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน องค์การแบบสูงกับองค์การแบบแบนราบ ผู้จัดการใหญ่ tall Organizational structure ผู้จัดการฝ่ายขาย 1 ผู้จัดการฝ่ายขาย 2 flat Organization structure พนักงานขาย1 พนักงานขาย2 พนักงานขาย3 พนักงานขาย4 • คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงโครงสร้าง • แสดงภาพข้อความ+เสียงบรรยาย • แสดงปุ่ม • เมื่อคลิก แสดง ดังนี้ • เมื่อคลิก tall Organizational structure แสดง ดังตัวอย่าง • เมื่อคลิก flat Organization structure แสดงภาพด้านล่าง (มื่อคลิกปุ่มแรก)องค์การที่มีขนาดของการควบคุมแคบ จะทำให้เกิดลำดับขั้นหลายขั้นในองค์การทำให้โครงสร้างองค์การมีลักษณะสูงขึ้น(tall Organizational structure) (เมื่อคลิกปุ่มที่ 2)หากมีขนาดการควบคุมกว้างจะทำให้องค์การมีโครงสร้างที่แบนราบ (flat Organization structure) มีลำดับขั้นในการบริหารเพียงไม่กี่ขั้น
File : ba291_05_18.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน โครงสร้างองค์การ (Organizational Structure) ตำแหน่งงานสายปฏิบัติการ (Line Positions) ตำแหน่งงานสายสนับสนุน (Staff Positions) • แสดงภาพข้อความ+เสียงบรรยาย ตำแหน่งงานที่ปรากฏในโครงสร้างองค์การนั้น สามารถจะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือตำแหน่งงานสายปฏิบัติการ (Line Positions) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ทำหน้าที่ตัดสินใจในงานหลักๆ ที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายหลัก หรือความอยู่รอดของกิจการ ในขณะที่ตำแหน่งงาน สายสนับสนุน (Staff Positions) จะเป็นตำแหน่งงานที่ทำหน้าที่สนับสนุนงานด้านปฏิบัติการ เช่นในโรงงานผลิตเสื้อผ้า ผู้จัดการฝ่ายผลิตจะถือเป็นงานสายปฏิบัติการเพราะเกี่ยวข้องกับงานของกิจการ หรือฝ่ายสินเชื่อก็ถือเป็นตำแหน่งงานสายปฏิบัติการในธนาคาร ในขณะที่ฝ่ายฝึกอบรบหรือฝ่ายกฏหมายจะเป็นสายสนับสนุนงานของสายปฏิบัติการให้ดำเนินไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
File : ba291_05_19.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน ประเภทของโครงสร้างองค์การ การจัดแผนกงานตามหน้าที่ (Departmentalization by Function) การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (departmentalize by Product) การจัดแผนกงานตามพื้นที่ (Departmentalize by location) การจัดแผนกงานตามลูกค้า (Departmentalize by Customers) คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา • แสดงปุ่ม+เสียงบรรยาย • เมื่อคลิกแสดงดังนี้ • เมื่อคลิก การจัดแผนกงานตามหน้าที่ แสดง File : ba291_05_20.swf • เมื่อคลิก การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ แสดง File : ba291_05_21.swf • เมื่อคลิก การจัดแผนกงานตามพื้นที่ แสดง File : ba291_05_22.swf • เมื่อคลิก การจัดแผนกงานตามลูกค้า แสดง File : ba291_05_23.swf เมื่อจะจัดโครงสร้างองค์การ ผู้บริหารจะต้องทำการระบุออกมาว่ามีงานและความรับผิดชอบอะไรบ้างที่จะเป็นในกิจการ จากนั้นจึงจัดงานออกเป็นกลุ่มๆ ที่เรียกว่า เป็นการจัดแผนกงาน (departmentalization) การจัดแผนกงานซึ่งจะนำไปสู่การจัดโครงสร้างองค์การนั้นทำได้หลายวิธี ดังนี้ การจัดแผนกงานตามหน้าที่ (Departmentalization by Function) การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (departmentalize by Product) การจัดแผนกงานตามพื้นที่ (Departmentalize by location) การจัดแผนกงานตามลูกค้า (Departmentalize by Customers)
File : ba291_05_20.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การจัดแผนกงานตามหน้าที่ (Departmentalization by Function) ผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด ผู้จัดการฝ่ายการเงิน ผู้จัดการฝ่ายผลิต • แสดงภาพข้อความ+เสียงบรรยาย การจัดแผนกงานตามหน้าที่ (Departmentalization by Function) วิธีการนี้งานจะถูกจัดกลุ่มตามหน้าที่ต่างหน้าที่ต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับกิจการ โครงสร้างองค์การที่ได้จะเป็นโครงสร้างตามหน้าที่งาน (Functional Structure) ซึ่งเหมาะกับกิจการขนาดไม่ใหญ่นักมีสินค้าไม่มากชนิด หรือขอบข่ายการจำหน่ายไม่กว้างขวางนักดังรูป
File : ba291_05_21.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (departmentalize by Product) 1 ผู้จัดการใหญ่ 2 3 4 5 ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์ ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริม ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม 7 6 8 9 ฝ่ายขาย ฝ่ายผลิต ฝ่ายการเงิน ฝ่ายขาย ฝ่ายผลิต ฝ่ายการเงิน ฝ่ายขาย ฝ่ายผลิต ฝ่ายการเงิน ฝ่ายขาย ฝ่ายผลิต ฝ่ายการเงิน • แสดงภาพข้อความ+เสียงบรรยาย • ลำดับการนำเสนอตามลำดับตัวเลข การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (departmentalize by Product) วิธีการนี้งานจะถูกจัดกลุ่มตามผลิตภัณฑ์ที่กิจการจำหน่าย มักเป็นโครงสร้างที่พบในกิจการขนาดใหญ่ที่มีผลิตภัณฑ์จำนวนมาก งานจะถูกจัดกลุ่มทั้งตามผลิตภัณฑ์และตามหน้าที่ โครงสร้างแบบนี้ทำให้กิจการสามารถให้ความใส่ใจผลิตภัณฑ์แต่ละกลุ่มได้อย่างใกล้ชิด กลุ่มผลิตภัณฑ์แต่ละกลุ่มจะมีกลุ่มงานที่แบ่งตามหน้าที่ของตนเอง (เช่น ตลาด การเงิน ผลิตฯลฯ) ทำให้มีความคล่องตัวขึ้นกลุ่มผลิตภัณฑ์จะทำหน้าที่เหมือนเป็นกิจการเล็กๆ ที่แทรกตัวอยู่ในกิจการขนาดใหญ่รับผิดชอบกำไรขาดทุนอย่างชัดเจน ทำให้ผู้บริหารตัดสินใจได้ว่ากลุ่มผลิตภัณฑ์ไหนควรจะเพิ่มหรือลดการลงทุน ขณะเดียวกันโครงสร้างแบบนี้ไม่เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กเพราะสิ้นเปลืองเกินไป เนื่องจากภายใต้โครงสร้างแบบนี้จะเกิดความซ้ำซ้อนของหน่วยงานสิ้นเปลืองคนและค่าใช้จ่าย รูปที่ 8.3 แสดงถึงการจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์
File : ba291_05_22.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การจัดแผนกงานตามพื้นที่ (Departmentalize by location) การจัดแผนกงานตามพื้นที่ การจัดแผนกงานแบบนี้มีลักษณะคล้ายกันกับการจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ทำให้สามารถดูแลในแต่ละพื้นที่ได้ใกล้ชัดขึ้น เหมาะสำหรับกิจการที่มีพื้นที่การดำเนินกิจการกว้างขวางหรือลูกค้าในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งมีการติดต่อธุรกิจด้วยอย่างสม่ำเสมอ • แสดงภาพข้อความ+เสียงบรรยาย การจัดแผนกงานตามพื้นที่ (Departmentalize by location) การจัดแผนกงานแบบนี้มีลักษณะคล้ายกันกับการจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ทำให้สามารถดูแลในแต่ละพื้นที่ได้ใกล้ชัดขึ้น เหมาะสำหรับกิจการที่มีพื้นที่การดำเนินกิจการกว้างขวางหรือลูกค้าในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งมีการติดต่อธุรกิจด้วยอย่างสม่ำเสมอการวัดผลการดำเนินงานน่าจะมีความชัดเจน ว่าพื้นที่ไหนมีกำไร - ขาดทุนอย่างไรและมีค่าใช้จ่ายสูงเช่นกัน
File : ba291_05_23.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน การจัดแผนกงานตามลูกค้า (Departmentalize by Customers) การจัดแผนกงานตามลูกค้า การจัดแผนกงานตามลูกค้ามีลักษณะใกล้เคียงกับการจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์และพื้นที่ ข้อดี- ข้อเสีย จะเหมือนกับการจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์และตามพื้นที่ดังกล่าวแล้ว • แสดงภาพข้อความ+เสียงบรรยาย การจัดแผนกงานตามลูกค้า (Departmentalize by Customers) การจัดแผนกงานตามลูกค้ามีลักษณะใกล้เคียงกับการจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์และพื้นที่ เช่น บริษัทขายคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มงานเพื่อดูแลลูกค้าเป็นกลุ่มๆเช่น กลุ่มลูกค้าพาณิชย์ กลุ่มลูกค้าสถาบันศึกษา กลุ่มลูกค้าราชการ กลุ่มลูกค้าย่อยทั่วไป ฯลฯ ข้อดี- ข้อเสียจะเหมือนกับการจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์และตามพื้นที่ดังกล่าวแล้ว
File : ba291_05_24.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน ประเภทของโครงสร้างองค์การ โครงสร้างแบบเมทริกซ์(Matrix Organization) โครงสร้างสนับสนุนผู้ประกอบการภายใน (Intrapreneur ship) • แสดงปุ่ม+เสียงบรรยาย • เมื่อคลิกแสดงดังนี้ • เมื่อคลิก Matrix Organization แสดง File : ba291_05_25.swf • เมื่อคลิก Intrapreneur ship แสดง File : ba291_05_26.swf นอกจากโครงสร้างในลักษณะดังกล่าวแล้ว ปัจจุบันธุรกิจจะนำโครงสร้างอื่นๆมาใช้เพื่อพยายามจะใช้ความสามารถของพนักงานได้อย่างเต็มที่ในกิจกรรมเฉพาะอย่าง โครงสร้างเหล่านี้ทำให้กิจการสามารถดึงศักยภาพของพนักงานออกมาได้มากขึ้น กระตุ้นให้พนักงานมีความทุ่มเทมากขึ้น หรือทำให้ได้ข้อมูลจากพนักงานมากขึ้น โครงสร้างเหล่านี้ได้แก่ โครงสร้างแบบเมทริกซ์(Matrix Organization) โครงสร้างสนับสนุนผู้ประกอบการภายใน (Intrapreneur ship)
File : ba291_05_25.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน โครงสร้างแบบเมทริกซ์ • แสดงภาพ+เสียงบรรยาย โครงสร้างแบบนี้เป็นการดึงเอาพนักงานแต่ละหน่วยงานมาร่วมกันทำงานในโครงการพิเศษในขณะที่พนักงานอาจจะทำงานในหน่วยงานต้นสังกัดอยู่ด้วย หรืออาจจะลดจากงานปกติมาทำงานในโครงการพิเศษเต็มตัวจนเมื่องานในโครงการพิเศษเสร็จแล้วจึงกลับไปทำงานที่ต้นสังกัด ในขณะที่ทำงานในโครงการพิเศษนั้นพนักงานจะอยู่ใต้การบังคับบัญชาของหัวหน้าโครงการในเวลาเดียวกันก็ยังต้องอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของต้นสังกัดด้วยดังรูป ข้อดีของโครงสร้างแบบเมทริกซ์ ทำให้เป็นที่รวมของพนักงานที่มีความสามารถและมุมมองแตกต่างกัน แต่ละคน (หรือมากกว่า 1 คนจากแต่ละสังกัด) สามารถทุ่มเทและใช้ทักษะของตนเองผลักดันงานสำคัญๆ ที่แข่งกับเวลาให้สำเร็จลงได้ แต่ข้อเสียก็คือพนักงานแต่ละคนต้องรายงานกับผู้บังคับบัญชา 2 คนอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งและสับสนได้
File : ba291_05_26.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การบริหารงาน โครงสร้างที่สนับสนุนผู้ประกอบการภายใน (Intrapreneur ship) 4 พนักงานธรรมดาๆสามารถคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้บริษัทได้เป็นผลสำเร็จ 3 ให้รางวัลแก่ความคิดดีๆ 7 1 2 การเปิดโอกาส 6 Intrapreneur ship กิจการ โครงสร้างองค์การที่รองรับและกระตุ้น 5 • แสดงภาพ+เสียงบรรยาย • ลำดับการนำเสนออ้างอิงจากวงกลมตัวเลข บางกิจการพยายามผลักดันให้พนักงานคิดสร้างสรรค์และทำงานแบบผู้ประกอบการ การผลักดันเช่นนี้เป็นความพยายามที่จะสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือความคิดใหม่ๆในกิจการ โครงสร้างที่จะรองรับแนวคิดเช่นนี้คือเปิดโอกาสให้พนักงานคิด ทดลองปฏิบัติเหมือนกับเป็นเจ้าของกิจการภายเล็กๆที่แทรกอยู่ในกิจการขนาดใหญ่ บทบาทของคนเหล่านี้คือการเป็นผู้ประกอบการภายใน( Intrapreneur ship) ผู้ประกอบการภายใน ( Intrapreneur ship) แตกต่างจากผู้ประกอบการ (Entrepreneur)ตรงที่ผู้ประกอบการภายในมีฐานะเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของกิจการ ไม่ใช่ผู้ก่อตั้งและเป็นเจ้าของกิจการเหมือนผู้ประกอบการ (Entrepreneur) แต่ผู้ประกอบภายในสามารถคิดค้น ประดิษฐ์หรือเสนอแนวทางรวมทั้งทดลองทำกิจการที่ตนเองคิดขึ้นมาได้ราวกับเป็นผู้ประกอบการจริงๆ วิธีการนี้เกิดขึ้นในหลายบริษัท เช่น 3M , Apple ที่ทำให้พนักงานธรรมดาๆสามารถคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆให้บริษัทได้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งจะต้องมีโครงสร้างองค์การที่รองรับและกระตุ้น เช่นการเปิดโอกาสของผู้บังคับบัญชา การพร้อมทั้งที่จะเสี่ยงหากโครงการนั้นล้มเหลว การมีระบบให้รางวัลแก่ความคิดดีๆ เหล่านี้จะ กระตุ้นให้พนักงานคิดอย่างผู้ประกอบการแทนที่จะทำงานไปวันๆ อย่างพนักงานทั่วไป