170 likes | 304 Views
แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ. ระยะที่ 2. 1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2552. การกระจายงานนอกโรงงานหรือบริษัท สู่ ชุมชน / ชนบท. ประชากรผู้มีงานทำของประเทศ 35.5 ล้านคน. Sub Contract. แรงงานในระบบ 13.7 ล้านคน. Home Workers Contract Farming. 38.6%. 61.4%.
E N D
แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบแผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ ระยะที่ 2 1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2552
การกระจายงานนอกโรงงานหรือบริษัท สู่ชุมชน / ชนบท ประชากรผู้มีงานทำของประเทศ 35.5 ล้านคน Sub Contract แรงงานในระบบ 13.7 ล้านคน Home Workers Contract Farming 38.6% 61.4% การชะลอตัวการลงทุน Lay off แรงงานนอกระบบ 21.8 ล้านคน นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจรัฐบาลชุดที่ผ่านมา (OTOP & SME) Self Employ สำนักงานสถิติ2549 สถานการณ์ความเป็นมา... เกิดระบบการจ้างเหมาช่วงงาน สู่แรงงานในชุมชน /เกษตรกรผู้รับงานไปทำที่บ้าน
ปัญหาจากการทำงาน 5.8 ล้านคน 26.6 % ค่าตอบแทนน้อย ไม่มีงานอย่างต่อเนื่อง ทำงานหนัก ไม่ได้รับสวัสดิการ ชั่วโมงทำงานมากกว่าปกติ ไม่มีวันหยุด วันลา 73.4 % ปัญหาความไม่ปลอดภัยและสภาพแวดล้อม ในการทำงาน16 ล้านคน • ขาดเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกัน /การไม่คุ้นเคยในการใช้ • อันตรายจากเครื่องจักร/อุปกรณ์ ท่าทางการทำงาน ( การยศาสตร์) ที่ไม่เหมาะสม • สภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสม(ฝุ่น / ความร้อน / แสงสว่าง / เสียง หรือสารเคมีฟุ้งกระจาย ) • ชั่วโมงการทำงานยาว ความรู้ความเข้าใจเรื่องอาชีวอนามัย ไม่มีนโยบายและกฎหมายที่เหมาะสมกับบริบทแรงงานนอกระบบ แรงงานนอกระบบ 21.8 ล้านคน
ภาพที่อยากเห็นในอนาคตภาพที่อยากเห็นในอนาคต
ระดับชาติ วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย มีหลักประกันทางสังคม ชุมชน ชุมชน มีความมั่งคงทางเศรษฐกิจ เข้าถึงบริการด้าน สุขภาพและ ความปลอดภัย คุณภาพชีวิตที่ดี แรงงานนอกระบบ วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย มีความเป็นชุมชน กลุ่ม / เครือข่าย ท้องถิ่น ท้องถิ่น เข้าถึงสิทธิแรงงาน ขั้นพื้นฐาน วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย ระดับชาติ
สิ่งที่อยากผลักดันหรือต่อยอดระยะที่ 2 การมีข้อเสนอและทางเลือกนโยบายที่เหมาะสม ระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ศักยภาพและความเข้มแข็งผู้นำ / เครือข่าย ศักยภาพของการจัดระบบบริการด้านอาชีวอนามัยที่เข้าถึงง่าย การจัดการข้อมูลวิชาการและองค์ความรู้สนับสนุนการทำงานในระดับปฏิบัติการ และการขับเคลื่อนนโยบาย
ระดับท้องถิ่น / ชุมชน ระดับประเทศ นโยบาย อาชีวอนามัยฯสิ่งแวดล้อม ในการทำงาน ความเป็นธรรมและ หลักประกันทางสังคม การจัดการองค์ความรู้ การขับเคลื่อนภาคประชาสังคม แนวคิดขบวนการแรงานนอกระบบ • รวมกลุ่ม / เครือข่าย • ผู้นำแรงงาน • การรณรงค์ / ขับเคลื่อนนโยบาย • การสร้างพันธมิตร ภาครัฐ NGOs และองค์กรในระบบ กรอบคิด / ยุทธศาสตร์ดำเนินงาน • ข้อบังคับท้องถิ่นและข้อบังคับงบประมาณ • กองทุนสุขภาพ • กลไกการเฝ้าระวังและการไกล่เกลี่ย • สวัสดิการชุมชน • ร่างพรบ.คุ้มครองส่งเสริมและพัฒนา ผู้รับงานไปทำที่บ้าน • นโยบายการคุ้มครองเกษตรพันธะ สัญญา • ระบบบริการสุขภาพ • ประกันสังคมแรงงานนอกระบบ • ศูนย์วิชาการและข้อมูล • เครือข่ายนักวิชาการ “สหวิชาชีพ” • การจัดการข้อมูล / องค์ความรู้เพื่อการ รณรงค์ขับเคลื่อนนโยบายและการ สนับสนุนฝ่ายปฏิบัติการ
เครือข่ายแรงานนอกระบบ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักโรคที่จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข สคร. 4 , 6, 10 ,12 สสอ. สสจ. รพ.เครือข่าย สถาบันการศึกษาทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ผู้รู้หรือครูภูมิปัญญาในท้องถิ่น คาดหวังกับใครบ้าง ในการพัฒนาต่อยอดการดำเนินงานระยะที่ 2 ส่วนกลาง: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนภูมิภาค: มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
อยากเห็นภาคีที่เกี่ยวข้องดังกล่าวมีบทบาทอย่างไรอยากเห็นภาคีที่เกี่ยวข้องดังกล่าวมีบทบาทอย่างไร
แผนงานอยากเห็น... บทบาทของ.. Outcome Challenge เครือข่ายแรงงานนอกระบบ ผลักดันให้มีการบังคับใช้กฎหมาย Outcome Challenge ขับเคลื่อนการออกนโยบาย : มาตรการ กฎหมาย เกี่ยวกับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาแรงงานนอกระบบ โดยการสร้างความร่วมมือกับท้องถิ่น สถานีอนามัย สคร. และนักวิชาการ ผู้นำมีความสามารถและมีบทบาทในการพัฒนาการรวมตัวของเครือข่าย • รณรงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับสมาชิกและชุมชน • รณรงค์นโยบายระดับท้องถิ่นและระดับชาติ • ได้รับการยอมรับจากเครือข่ายและภาครัฐ • สามารถนำเสนอปัญหาความต้องการแก่ภาครัฐ • มีส่วนร่วมตัดสินใจและเสนอนโยบายในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
แผนงานอยากเห็น... บทบาทของ.. Outcome Challenge องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาพื้นที่รูปธรรมที่บูรณาการการทำงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ (บุคลากรท้องถิ่น เครือข่ายฯ ภาครัฐ) Outcome Challenge จัดทำข้อบังคับท้องถิ่นเกี่ยวการจัดการและพัฒนาส่งเสริมอาชีพเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม Outcome Challenge พัฒนาระบบสวัสดิการที่เอื้อต่อการลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การมีอาชีพและรายได้ที่พอเพียง โดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มหรือเครือข่ายอาชีพในตำบล
แผนงานอยากเห็น... บทบาทของ.. Outcome Challenge สำนักโรคฯ สคร. และ ก.สาธารณสุข สคร.เป็นแกนกลางพัฒนาความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน (PCU-CUP- สสจ สสอ.และ ส่วนกลาง) Outcome Challenge ผลักดันให้เกิดนโยบายระดับกระทรวง และ สปสช. • มาตรฐาน CUP-PCU • พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ / บุคลากรด้านวิชาการ Outcome Challenge พัฒนารูปแบบการจัดบริการด้านอาชีวอนามัย (PCU-CUP) เชิงรุกและรับ • พัฒนากระบวนการเรียนรู้กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง • พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและเครือข่ายในการจัดบริการอาชีวอนามัย Outcome Challenge พัฒนาความร่วมมือกับ อปท.ในการจัดบริการสุขภาพเชิงรุกให้กับแรงงานนอกระบบ
แผนงานอยากเห็น... บทบาทของ.. เครือข่ายนักวิชาการ ส่วนกลางและภูมิภาค เป็นแกนนำประสาน/พัฒนาเครือข่ายวิชาการ “หลากหลายสาขา” ได้แก่ กฎหมาย, เศรษฐศาสตร์, สังคม, สิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย Outcome Challenge พัฒนางานวิชาการ ข้อมูลและสถิติด้านแรงงานนอกระบบสนับสนุนการทำงานในระดับปฏิบัติ Outcome Challenge สกัดข้อมูล จัดทำองค์ความรู้ สถิติด้านแรงงานนอกระบบและมีผลงานวิชาการสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ Outcome Challenge
ภาคียุทธศาสตร์ ก. แรงงาน / พัฒนาสังคม/ ก.เกษตร / เศรษฐกิจการคลัง / กรมฯปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนบริหารแผนงาน สมาคมวิถีทางเลือกฯ ภาคีหุ้นส่วนหลัก ภาคีปฏิบัติการ ผู้รับผลประโยชน์ (แรงงานนอกระบบ) เครือข่าย ภาค /ประเภทงาน เครือข่ายแรงงานนอกระบบ องค์กรพัฒนาเอกชน / แรงงานในระบบ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาชิก อปท. อปท,/ สสจ./ สอ. / รพ. สคร. เขต พื้นที่ สำนักโรคฯ หน่วยที่เกี่ยวข้องใน ก.สธ สปสช. ม . ธรรมศาสตร์/ แม่โจ้ มช. / มข. มหิดล และมอ. เครือข่ายนักวิชาการ นักวิชาการ/ ผู้รู้อื่นๆ ภาพรวมการทำงาน
พื้นที่บูรณาการต้นแบบ 6 แห่ง • ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี • ต.โน่นท่อน อ.บ้านเม็ง จ.ขอนแก่น • ต.บ้านเม็ง อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น • ต.บ้านธิ อ.บ้านธิ จ.ลำพูน • ต.ทาเหนือ อ. แม่ออน จ.เชียงใหม่ • ต.ชุมพล อ.สะทิงพระ จ.สงขลา • สคร. เขต4 ราชบุรี • อ.โพธารม 1 CUP 2 PCU • อ. เมือง 1 CUP 2 PCU • สคร. เขต12 สงขลา • อ.สะทิงพระ 1 CUP 2 PCU • อ. หาดใหญ่ 1 CUP 2 PCU • สคร. เขต10 ลำพูน/เชียงใหม่ • อ.บ้านธิ 1 CUP 2 PCU • อ.แม่ออน1 CUP 2 PCU • สคร. เขต6 ขอนแก่น • อ.หนองเรือ1 CUP 2 PCU • อ. เมือง 1 CUP 2 PCU • ผู้นำเกษตรพันธะสัญญา • เหนือ กลาง ใต้ อีสาน • เครือข่ายผู้ทำการผลิตที่บ้าน • เหนือ กลาง ใต้ อีสาน กรุงเทพฯ • ผู้นำและกลุ่มแรงงานภาคบริการ • ขอนแก่น กรุงเทพฯ กำแพงเพชร พิษณุโลก ฉะเชิงเทรา พื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย
บทบาทของ.. สำนักโรคฯ สคร. และ ก.สาธารณสุข Outcome Challenge สคร.เป็นแกนกลางพัฒนาความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน (PCU-CUP- สสจ สสอ.และ ส่วนกลาง) Outcome Challenge ผลักดันให้เกิดนโยบายระดับกระทรวง และ สปสช. Outcome Challenge พัฒนารูปแบบการจัดบริการด้านอาชีวอนามัย (PCU-CUP) เชิงรุกและรับ Outcome Challenge พัฒนาความร่วมมือกับ อปท.ในการจัดบริการสุขภาพเชิงรุกให้กับแรงงานนอกระบบ การพัฒนาระบบข้อมูล