260 likes | 570 Views
การถอดบทเรียน. ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดบริการระบบสุขภาพ : ความร่วมมือของชุมชน. อ.เพ็ญ รพ.สต.สร้างแป้น รพ. สต.นา บัว รพ.สต.นาพู่ อ.เมือง รพ.สต.สาม พร้าว รพ. สต.หมูม่น. ทิศทางการพัฒนาสุขภาพของ อปท. 4 m. การพัฒนา
E N D
การถอดบทเรียน ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดบริการระบบสุขภาพ : ความร่วมมือของชุมชน อ.เพ็ญ รพ.สต.สร้างแป้น รพ.สต.นาบัว รพ.สต.นาพู่ อ.เมือง รพ.สต.สามพร้าว รพ.สต.หมูม่น
ทิศทางการพัฒนาสุขภาพของ อปท. 4 m การพัฒนา สุขภาพ รัฐ จังหวัด พื้นที่ ประชาชน Good Governance
การพัฒนาบุคลากรหลังการถ่ายโอนสถานบริการสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (การกระจายอำนาจ : ทิศทางการพัฒนาสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) • อปท. นำเสนอแนวคิดการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน มีกระบวนการที่ยืดหยุ่น สามารถเอื้อให้เกิดความมั่นคงและความเข้มแข็งของชุมชน • สามารถตอบสนองการดำเนินงานการกระจายอำนาจ ด้านการบริหารจัดการการพัฒนาสุขภาพ เพื่อการแก้ปัญหาด้านการสาธารณสุขในแต่ละพื้นที่ • การระดมความคิดเห็น การพัฒนาการจัดบริการของสถานบริการสาธารณสุข
Paradigm Shiftการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ คิดนอกกรอบ Lateral Thinking คิดอย่างมีระบบ Systematic Thinking คิดสร้างสรรค์ Creative Thinking
คิดในกรอบกับคิดนอกกรอบคิดในกรอบกับคิดนอกกรอบ เป็นเรื่องความถูกต้อง เป็นเรื่องความหลากหลาย เคลื่อนไปทิศทางที่มีอยู่เท่านั้น เคลื่อนที่เพื่อสร้างทิศทาง เป็นการวิเคราะห์ เป็นการกระตุ้น เป็นลำดับขั้นตอน สามารถกระโดดข้ามขั้นได้ ทำทุกขั้นตอนให้ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องทำทุกขั้นตอน
คิดอย่างมีระบบ • คิดให้เห็นภาพใหญ่ (องค์รวม)ของทั้งหมด • คิดให้เห็นภาพย่อยในภาพใหญ่ทั้งหมด • วิธีการ • กำหนดเป้าประสงค์ให้ชัดเจนก่อน • กำหนดวัตถุประสงค์ • แยกแยะส่วนย่อย เพื่อนำมาดำเนินการ • กำหนดวิธีการ/เครื่องมือดำเนินการ
ทำไม สอ./ อปท. ต้องร่วมมือกัน • เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ • เกิดความคุ้มค่า ประหยัด • ขยายบริการได้หลากหลาย • ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น
กิจการใดที่ควรร่วมมือกันกิจการใดที่ควรร่วมมือกัน อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ขยายการบริการให้หลากหลาย ความร่วมมือ เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ประหยัดคุ้มค่า เพิ่มมาตรฐานการให้บริหารสูงขึ้น สนองความต้องการประชาชน
ความร่วมมือ เกิดขึ้นได้อย่างไร นโยบายรัฐ ความสมัครใจ การเรียกร้องของประชาชน ข้อจำกัดด้านการให้บริการ รปแบบความร่วมมือ ทำข้อตกลง จัดองค์กรความร่วมมือ ให้ดำเนินการแทน ส่งมอบคืน (ข้อมูล)
ขั้นตอนความร่วมมือ ขั้นตอนที่ ๑ ให้ความรู้ความเข้าใจ ขั้นตอนที่ ๒ ค้นหาความต้องการ/ความจำเป็น ขั้นตอนที่ ๓ ระบุกิจการ/บริการ ขั้นตอนที่ ๔ แสวงหาความร่วมมือ ขั้นตอนที่ ๕ หารือความร่วมมือ ขั้นตอนที่ ๖ ตรวจสอบ ระเบียบ กฎหมาย ขั้นตอนที่ ๗ ประชาสัมพันธ์ ขั้นตอนที่ ๘ จัดทำข้อตกลง ขั้นตอนที่ ๙ ดำเนินงาน ขั้นตอนที่ ๑๐ ติดตาม ประเมินผล
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น ประชาชน ชุมชน อปท. รัฐ