1 / 37

แนวทางการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์

แนวทางการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์. โดย นาย ณัฐกร อุเทนสุต. หลักการและเหตุผลในการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์. อดีต. ปัจจุบัน. ปี 2535. ปี 2547. ปี 2548-2554. - แนวทางเหมือนปี 2547 โดยได้มีการเพิ่มประเภทรถยนต์ตามเชื้อเพลิงที่ใช้ 1. NGV-Retrofit 2. Eco Car 3. E 85.

Download Presentation

แนวทางการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์แนวทางการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์ โดย นาย ณัฐกร อุเทนสุต

  2. หลักการและเหตุผลในการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์หลักการและเหตุผลในการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์ อดีต ปัจจุบัน ปี 2535 ปี 2547 ปี 2548-2554 - แนวทางเหมือนปี 2547 โดยได้มีการเพิ่มประเภทรถยนต์ตามเชื้อเพลิงที่ใช้ 1. NGV-Retrofit 2. Eco Car 3. E 85 - ความฟุ่มเฟือย (Luxury) - ความจุกระบอกสูบ (ซีซี) - Product Champion - สนับสนุนนโยบายพลังงาน ทดแทนและประหยัดพลังงาน - สร้างความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษี(ยกเลิกรถยนต์ OPV) - ความฟุ่มเฟือย (Luxury) - ความจุกระบอกสูบ (ซีซี) - ประเภทรถยนต์ 1. รถยนต์นั่ง 2. รถยนต์บรรทุก 3. รถยนต์โดยสาร

  3. โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ในปัจจุบันและในอนาคตโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ในปัจจุบันและในอนาคต 1. เนื่องจากน้ำมันดิบมีคาร์บอนเป็นส่วนประกอบ การกำหนดระดับปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นฐานในการคำนวณภาษี ส่งผลให้ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกและส่งเสริมให้ใช้รถยนต์ประหยัดพลังงาน 2. สนับสนุนนโยบายพลังงานทดแทนและประหยัดพลังงาน 3. เสริมสร้างความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษีตามอัตราการประหยัดพลังงาน 4. โครงสร้างภาษีใหม่มีความเรียบง่ายมากยิ่งขึ้น สิ่งแวดล้อม (Environment) ความฟุ่มเฟือย (Luxury) 1. จัดเก็บภาษีตามขนาดเครื่องยนต์เพื่อสะท้อนความฟุ่มเฟือย2. กำหนดอัตราภาษีสำหรับรถยนต์ที่สนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนและการประหยัดพลังงาน3. กำหนดอัตราภาษีเพื่อสนับสนุนขีดความสามารถในการแข่งขัน Product Champion: Pick Up, Eco Car

  4. ข้อจำกัดของโครงสร้างภาษีสรรพสามิตในปัจจุบันข้อจำกัดของโครงสร้างภาษีสรรพสามิตในปัจจุบัน ความหลากหลายซับซ้อนและไม่เป็นธรรม+ ความเห็นของผู้ประกอบการ ไม่ได้สนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนอย่าง มีประสิทธิภาพและ เป็นรูปธรรม ความไม่เป็นธรรมในการบริหารการจัดเก็บภาษี โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ไม่สะท้อนถึงแนวทางการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

  5. การปรับอัตราภาษีสรรพสามิตรถยนต์ปี 2547 - 2553

  6. โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์นั่งโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์นั่ง

  7. โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์นั่งโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์นั่ง

  8. โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์กระบะและอนุพันธ์โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์กระบะและอนุพันธ์

  9. ความเป็นมาของการปฏิรูปโครงสร้างภาษีรถยนต์ความเป็นมาของการปฏิรูปโครงสร้างภาษีรถยนต์ • เมษายน 2553 คณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจมีมติให้กระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปทบทวนแนวนโยบายที่เกิดจากการสูญเสียรายได้ของการสนับสนุนรถยนต์ E85 • ตุลาคม 2553 กระทรวงการคลังร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมมีดำริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปศึกษาแนวทางการปฏิรูปโครงสร้างภาษีรถยนต์ดังกล่าว • ตุลาคม 2553 ได้แต่งตั้งคณะทำงานปฏิรูปโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์และมีการประชุมหารือร่วมกัน • พฤศจิกายน – ธันวาคม 2553 ได้เชิญผู้ประกอบการรถยนต์เข้าร่วมแสดงความคิดเห็น เป็นรายบริษัท

  10. ความเป็นมาของการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์ (ต่อ) มติครม.เมื่อวันที่ 3 พ.ค. 2554 เห็นชอบในหลักการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ โดยคำนึงถึงการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยของรถยนต์ การใช้พลังงานทดแทน และประสิทธิภาพ ในการปล่อย CO2 Emission โดยมอบหมายให้กระทรวงการคลัง กระทรวงพลังงานและกระทรวงอุตสาหกรรมร่วมพิจารณา แล้วเสนอครม.ชุดต่อไปภายใน 4 เดือน

  11. ภาษีรถยนต์ในประเทศไทยภาษีรถยนต์ในประเทศไทย ภาระภาษีรถยนต์ (ขนาด 2,521 cc.) อัตราภาษี 35% VAT7% ภาษีมหาดไทย 2.38% ภาษีสรรพสามิต 23.78% ต้นทุนการผลิต 41.78 %

  12. ตามพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ.2522 และพระราชบัญญัติรถยนต์พ.ศ.2522 แบ่งประเภทรถยนต์เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 :ยานยนต์ที่จัดเก็บภาษีตามน้ำหนัก (หน่วย:บาทต่อปี)

  13. กลุ่มที่ 2 : ยานยนต์ที่จัดเก็บภาษีมิใช่ตามน้ำหนัก

  14. ภาษีที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ภาษีที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ ภาษีรถยนต์ที่เก็บจากการปล่อย CO2 ในต่างประเทศ

  15. ภาษีรถยนต์ที่เก็บจากการปล่อย CO2 ในต่างประเทศ ต่อ

  16. ภาษีรถยนต์ที่เก็บจากการปล่อย CO2 ในต่างประเทศ ต่อ

  17. ภาษีรถยนต์ที่เก็บจากการปล่อย CO2 ในต่างประเทศ ต่อ

  18. ภาษีรถยนต์ที่เก็บจากการปล่อย CO2 ในต่างประเทศ ต่อ

  19. ภาษีรถยนต์ที่เก็บจากการปล่อย CO2 ในต่างประเทศ ต่อ

  20. ภาษีรถยนต์ที่เก็บจากการปล่อย CO2 ในต่างประเทศ ต่อ

  21. ภาษีรถยนต์ที่เก็บจากการปล่อย CO2 ในต่างประเทศ ต่อ

  22. วัตถุประสงค์ของการจัดเก็บภาษีรถยนต์วัตถุประสงค์ของการจัดเก็บภาษีรถยนต์ ตามโครงสร้างใหม่ • สนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ • สนับสนุนการใช้เครื่องยนต์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • สนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน • สนับสนุนรถยนต์ที่มีปลอดภัยสูงขึ้น • ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ต่อการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

  23. CO2คือ อะไร ? ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต 6 ชนิด การเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล (fossil fuel) ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมและภาคการขนส่ง ทำให้มีการนำพลังงานฟอสซิล (fossil fuel) เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีคาร์บอนมาใช้ การใช้พลังงานเหล่านี้ทำให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดก๊าซเรือนกระจก

  24. นโยบายในการสนับสนุนสิ่งแวดล้อมนโยบายในการสนับสนุนสิ่งแวดล้อม • คาร์บอนเครดิตคือการซื้อขายสิทธิในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เกิดขึ้นจากข้อตกลงพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) มีภาคีทั้งหมด 191 ประเทศ และมีผลบังคับใช้เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2548 โดยประเทศพัฒนาแล้ว จำนวน 41 ประเทศ มีพันธกรณีในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ระหว่างปี 2551-2555 ให้ได้ร้อยละ 5.2 จากปริมาณการปล่อยในปี 2533 หรือจำเป็นต้องซื้อคาร์บอนเครดิตจากประเทศอื่น Carbon Footprint บอกจำนวนก๊าซเรือนกระจกที่ ผลิตภัณฑ์นั้นๆ ผลิตต่อหนึ่งหน่วยสินค้าโดยคำนวณ ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบแล้วนำไปแปรรูปผลิต จนถึงการจัดจำหน่ายและย่อยสลาย ทำให้ผู้บริโภคทราบถึงความใส่ใจของผู้ผลิตต่อปัญหาโลกร้อน อีกทั้งยังสามารถสร้างความตื่นตัวในกลุ่มผู้บริโภคให้เลือกซื้อสินค้าที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก น้อยกว่าสินค้าชนิดเดียวกัน • ฉลากลดคาร์บอนของประเทศไทย ในระยะแรก เป็นผลจากการประเมินการลดก๊าซเรือนกระจก ในกระบวนการผลิตสินค้า เป็นปริมาณเท่าใดหลังจากที่ได้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตแล้ว โดยผู้ประกอบการที่ได้รับการอนุมัติขึ้นทะเบียนฉลากคาร์บอน • บริษัท น้ำตาลวังขนาย จำกัด • บริษัท ไทยโตชิบาไลท์ติ้ง จำกัด • บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) • บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) • บริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด เป็นต้น • การกำหนดอัตราภาษีรถยนต์จาก CO2 • ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรป 14 ประเทศจาก 27 ประเทศ กำหนดนโยบายภาษีรถยนต์โดยใช้อัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นตัวกำหนด • ประเทศไทยกำหนดให้รถยนต์เพียงประเภทเดียวได้แก่Eco Car มีอัตราภาษีพิเศษจากการปล่อยปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต้อง ไม่เกิน 120 กรัมต่อกิโลเมตร

  25. ข้อมูลการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ข้อมูลการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 1. กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ.2552) 2. สถาบันยานยนต์ (พ.ศ.2552)

  26. เปรียบเทียบโครงสร้างปัจจุบันกับโครงสร้างใหม่เปรียบเทียบโครงสร้างปัจจุบันกับโครงสร้างใหม่ ปริมาณรถยนต์ (คัน) โครงสร้างที่จะเสนอครม. กระบะ/SC 150 200 PPV DC (นั่ง) 30/25 (E85) (นั่ง) 35/30 (E85) 25 3/5 12 (นั่ง 40)/35 (E85) Co2≤200 Co2 >200 Eco Car 17/14/12 5/7 15 30 Hybrid30 Hybrid10/20 Hybrid25 (คัน) (กรัม/กิโลเมตร) โครงสร้าง ปัจจุบัน (E20) Eco Car 17 (นั่ง) 25 (นั่ง)50 (นั่ง)30 (นั่ง)35 3 12 20 Hybrid10

  27. เปรียบเทียบโครงสร้างภาษีปัจจุบันกับโครงสร้างภาษีที่ครม.มีมติเห็นชอบเปรียบเทียบโครงสร้างภาษีปัจจุบันกับโครงสร้างภาษีที่ครม.มีมติเห็นชอบ } } * 25 30 * หมายเหตุ * : กำหนดมาตรฐานความปลอดภัย (Active Safety) สำหรับรถยนต์นั่ง รถยนต์ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ที่มี CO2 ≤150 g/km / รถยนต์ PPV ที่มี CO2 ≤200 g/km / รถยนต์ Eco Car ที่มีCO2 ≤100 g/km **อยู่ในโครงสร้างของรถยนต์นั่งที่พิจารณาจาก CO2 เป็นหลัก *ที่มีความจุกระบอกสูบตั้งแต่ 1,780 CC แต่ไม่เกิน 2,000 CC

  28. สนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน เน้น Input โครงสร้างใหม่ เน้น Output ปริมาณ CO2 (กรัมต่อกิโลเมตร) สามารถใช้วัดอัตราการสิ้นเปลืองน้ำมันและมลพิษได้ ประเภทของน้ำมันเชื้อเพลิงและเทคโนโลยี E10, E20, E85, NGV-OEM, NGV-Retrofit CO2 1. โครงสร้างภาษีมีความซับซ้อน (อัตราภาษี 43 อัตรา) ก่อให้เกิดความไม่ชัดเจนด้านนโยบาย 2. โครงสร้างภาษีรถยนต์ไม่สนับสนุนการลดปริมาณ CO2 และการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ภาษีรถยนต์ E20 และ E85 ทำให้รัฐสูญเสียรายได้เกินกว่า ต้นทุนการผลิตที่แท้จริงและก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม ในการกำหนดขนาดเครื่องยนต์ของรถยนต์ E85 1. มีความเรียบง่ายและความชัดเจนด้านนโยบาย การจัดเก็บภาษีและการลงทุน 2. กำหนดระดับปริมาณ CO2เป็นฐานในการคำนวณ ภาษี เพื่อลดภาวะโลกร้อน 3. สร้างความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษี

  29. สนับสนุนการใช้เครื่องยนต์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสนับสนุนการใช้เครื่องยนต์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รถยนต์ที่มีขนาดเครื่องยนต์ 1,400-1,500 ซีซี จำนวน 150,000 คัน หรือคิดเป็นร้อยละ 61 ของจำนวน รถยนต์นั่งทั้งหมดปรับแต่งเครื่องยนต์ให้ปล่อย CO2ลดลงร้อยละ 15 ของปริมาณการปล่อย CO2 ในปัจจุบัน ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ปีละ 40,000 ตัน หากมีการพัฒนาเครื่องยนต์ให้สอดรับกับโครงสร้างภาษีรถยนต์ใหม่ หรือเท่ากับการปลูกไม้ยืนต้น อาทิไม้สัก ประมาณ 44,000 ไร่

  30. สนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน (E85) โครงสร้างภาษีรถยนต์ปัจจุบัน โครงสร้างภาษีรถยนต์ใหม่ รถยนต์นั่ง ≤ 2,000 ซีซี จัดเก็บภาษี 25% รถยนต์นั่ง E85 รถยนต์นั่งทั่วไป +x,-x CO2 Penalty CO2 Penalty -x 1 CO2Incentive เหตุผลในการจัดเก็บภาษี 1)Luxury 2)Road เหตุผลในการจัดเก็บภาษี 1)Luxury 2)Road -x 2 CO2 <เกณฑ์,- ภาษี เหตุผลในการจัดเก็บภาษี 1)Luxury 2)Road 135,000 -245,000 135,000 -245,000 135,000 -245,000 หมายเหตุ: 1.รถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิง E85 ส่งผลให้CO2ลดลง 2. ใช้รถยนต์E85 แต่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด

  31. สนับสนุนรถยนต์ที่มีปลอดภัยสูงขึ้น (Safety) ระบบที่จะช่วยให้ผู้ขับขี่และผู้โดยสารไม่ต้องมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ Active Safety ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุก่อนการชน เช่น ABS และ ESC Passive Safety ป้องกันไม่ให้ผู้โดยสารบาดเจ็บหลังการชน เช่น Airbag เข็มขัดนิรภัย และกระจกรถยนต์ เห็นควรกำหนดมาตรฐานความปลอดภัย (Active Safety) เป็นมาตรฐานบังคับของกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อยกระดับความปลอดภัยของสำหรับรถยนต์ ดังนี้ 1. รถยนต์นั่งหรือรถยนต์ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน และ E85ที่มี CO2 ≤150 g/km 2. รถยนต์ PPV ที่มี CO2 ≤200 g/km 3. รถยนต์Eco Car ที่มีCO2 ≤100 g/km

  32. ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ต่อการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ต่อการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ข้อดีของรถยนต์ดีเซล 1. ประสิทธิภาพในการประหยัดเชื้อเพลิงกว่าน้ำมันเบนซิน 30% และราคาน้ำมันดีเซลที่ต่ำกว่าส่งผลให้สัดส่วนรถยนต์นั่ง ส่วนบุคคลที่เพิ่มขึ้นในยุโรป 2. เทคโนโลยี CDI (Commonrail Direct Injection) ได้ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อเพิ่มแรงม้า แรงบิด และการประหยัดพลังงาน ส่งผลให้เครื่องยนต์เดินเงียบ ลดเสียงดัง 3. เครื่องยนต์ดีเซลต้องทนต่อแรงกดอากาศ สูงถึง 22:1ทำให้มีเสื้อสูบและฝาสูบ ที่แข็งแรงกว่า จึงทนทานมากกว่า โดยมีอายุการใช้งาน 300,000-1,000,000 กม. ในขณะที่เครื่องยนต์เบนซิน มีอายุการใช้งานเพียง 100,000-300,000 กม. 4. เครื่องยนต์ดีเซลไม่มีระบบจุดระเบิด ทำให้มีความเรียบง่ายกว่าทั้งในการ บำรุงรักษาและซ่อมแซม BlueTEC - พัฒนามาจากเครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรลระบบหัวฉีดอันล้ำสมัย ช่วยลดอัตราการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ควบคุมการปล่อยไอเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ BlueTEC + HYBRID 109 g Co2/km หรือ 4.2 ลิตรต่อ100 กม.

  33. ทิศทางการพัฒนายานยนต์พลังงานทดแทนทิศทางการพัฒนายานยนต์พลังงานทดแทน • Demand (รถยนต์) • รถยนต์ดีเซล • - สนับสนุนรถยนต์ที่มีประสิทธิภาพ อาทิ เครื่องยนต์ดีเซล • - เห็นควรส่งเสริมให้รถยนต์โดยสารขนาดใหญ่ใช้น้ำมัน ED95 (เอทานอล95) • ทดแทนน้ำมันดีเซล • รถยนต์ E85 • - สนับสนุนรถยนต์ E85 ที่มีขนาดความจุกระบอกสูบต่ำกว่า 1,780 ได้รับ • สิทธิประโยชน์ทางภาษีสรรพสามิต • รถยนต์ NGV • - สนับสนุนรถยนต์ NGV ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีสรรพสามิต • เช่นเดียวกับรถยนต์ E85

  34. ทิศทางการพัฒนายานยนต์พลังงานทดแทนทิศทางการพัฒนายานยนต์พลังงานทดแทน • Supply (น้ำมัน) • น้ำมันดีเซล • - สนับสนุนให้ใช้พลังงานทดแทนน้ำมันดีเซลในอัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นมากกว่า • ที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ B7,B10และB20 เป็นต้น • น้ำมัน E85 • - มีปริมาณการผลิตเอทานอลเพื่อใช้ในประเทศ 1.42 ล้านลิตรต่อวัน (ม.ค.- • มิ.ย.2554) ในขณะที่มีกำลังการผลิตสูงสุด 2.925 ล้านลิตรต่อวัน จึงเห็นควร • กำหนดให้เพิ่มปริมาณการใช้เอทานอลอย่างเป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย • (แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี ซึ่งมีเป้าหมายการใช้เอทานอล 9 ล้าน • ลิตรต่อวันภายในปี 2565)

  35. ทิศทางในการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานทิศทางในการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงาน ปัจจุบัน อนาคต เครื่องยนต์ ประหยัดน้ำมัน 15% 15 ปี ขึ้นไป HYBRID 10 ปี ขึ้นไป EV FUEL CELL เกียร์ ประหยัดน้ำมัน 4-7% น้ำหนักลดลง 100 กก. ประหยัดน้ำมัน 4-7% โครง สร้าง

  36. รายได้ภาษีสรรพสามิตรถยนต์รายได้ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ หน่วย : ล้านบาท

  37. Q. & A.ขอบคุณครับ

More Related