1 / 24

6 คลื่นเสียง

6 คลื่นเสียง. อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ ในระบบคลื่นสถิต หูและการได้ยิน ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์. ย่านความถี่ของเสียง. คลื่นใต้เสียง ( Infrasonic ) เช่นคลื่นแผ่นดินไหว f < 20 Hz หูมนุษย์รับฟังไมได้ แต่รับรู้ได้. คลื่นเสียง( Audible range )

palti
Download Presentation

6 คลื่นเสียง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ ในระบบคลื่นสถิต หูและการได้ยิน ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์

  2. ย่านความถี่ของเสียง คลื่นใต้เสียง (Infrasonic) เช่นคลื่นแผ่นดินไหว f < 20 Hz หูมนุษย์รับฟังไมได้ แต่รับรู้ได้ คลื่นเสียง(Audible range) 20 Hz< f < 20 kHz หูมนุษย์รับฟังได้ คลื่นเหนือเสียง (Ultrasonic) f > 20 kHz หูมนุษย์รับฟังไม่ได้ แต่สัตว์บางประเภทรับฟังได้

  3. อัตราเร็วเสียง ของไหล ของแข็ง B -ค่าบัลค์โมดูลัส Y -โมดูลัสของยัง r-ความหนาแน่นตัวกลาง

  4. อัตราเร็วของคลื่นตามยาวในของไหลอัตราเร็วของคลื่นตามยาวในของไหล vt นิ่ง นิ่ง vxt การดลบนลูกสูบ =โมเมนตัมเปลี่ยนแปลงในของไหล v DP นิ่ง vx

  5. P DQ P2 P1 T V V1 V2 P P2 T2 P1 T1 V V2 V1 P1 V1 P2 V2 P2 P1 V2 V1 การอัดก๊าซอุดมคติผ่านกระบวนการอุณหภูมิคงที่ PV=nRT=const การอัดก๊าซอุดมคติผ่านกระบวนการความร้อนคงที่ =5R/2,7R/2,9R/2 PVg=const ; =3R/2,5R/2,7R/2

  6. v (m/s) 331 K 0 273 สำหรับอากาศอุณหภูมิปกติ M =30 x10-3 kg g =1.4

  7. S กำลังงานของเสียงที่ตกลงในหน่วยพื้นที่ ความเข้มเสียง

  8. ระดับความเข้มเสียง [dB: decibel] ความเข้มขีดเริ่มของการได้ยิน Io =10-12 W/m2

  9. ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ ในระบบคลื่นสถิต โมดปกติ (normal modes) รูปแบบการสั่นที่มีความถี่เดียวกันในทุกๆทิศทาง ความถี่ธรรมชาติ (Natural Frequency) ความถี่ของการสั่นในแต่ละโมด ความถี่หลักมูล (Fundamental frequency)ความถี่ต่ำสุดของการสั่น ฮาร์โมนิก (Harmonic) ใช้เรียกความถี่ที่เป็นจำนวนเต็มเท่าของความถี่หลักมูล โอเวอร์โทน(Overtone)ใช้เรียกความถี่ธรรมชาติในโมดที่สูงกว่าของความถี่หลักมูล แต่อาจไม่เป็นจำนวนเท่าของความถี่หลักมูลก็ได้ ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ (Resonance) ความถี่กระตุ้นที่มีค่าใกล้เคียงหรือตรงกันกับความถี่ธรรมชาติเท่านั้นที่จะทำให้เกิดการสั่นของเส้นวัตถุอย่างรุนแรงและต่อเนื่อง

  10. ลำอากาศปลายเปิด

  11. ลำอากาศปลายปิด

  12. แผ่นเยื่อกลมขึงตึง T - ความตึง[N/m2] s - ความหนาแน่น[kg/m2] D- เส้นผ่านศูนย์กลาง [m] T - 2000 N/m2 s - 0.26 kg/m2 ==> f01=112 Hz D- 0.6m

  13. การเกิดเสียงพูด Sundberg models

  14. หูและการได้ยิน

  15. P P A2 A1 การขยายเสียงใน หูตอนนอก - ระบุทิศแหล่งกำเนิดเสียง(stereo ) - เพิ่มพื้นที่ดักเสียง และเพิ่มความเข้มเสียงก่อนเข้าสู่รูหู • ใบหู f1 f3 • รูหู - ช่องนำเสียง - ขยายเสียงโดยการอภินาทกับ ลำอากาศปลายปิด เฉพาะบางความถี่ (P x2)

  16. 1 3 FOval Ftymp การขยายเสียงในหูตอนกลาง ความดันเสียงเพิ่มขึ้นโดย 2 กลไก 1. ระบบคานที่มี MA. ประมาณ 3 Ftymp : Foval = 1 : 3 2. Atymp : Aoval = 15 : 1

  17. หูตอนใน

  18. ความดังของเสียง(loudness) ==>ระดับความเข้มเสียงที่รู้สึกโดยหูคน [ phons] ( 60 phon = 60 dB @1000Hz) ==> เสียงที่มีdB เท่ากัน อาจมี phons ความดังไม่เท่ากัน ถ้าเป็นคนละความถี่ Equal Loudness Curves

  19. ทุกๆ 10 โฟน ที่เพิ่มขึ้น ความดังเพิ่มขึ้น เป็น 2 เท่า

  20. ปรากฏการณ์ ดอปเปลอร์ • ดอปเปลอร์(Christian doppler: 1803-1853)นักคณิตศาสตร์ชาวออสเตรียที่อธิบายปรากฏการณ์หนึ่งของเสียงไว้ว่า เมื่อแหล่งกำเนิดเสียงและผู้สังเกตมีการเคลื่อนที่สัมพัทธ์กัน ความถี่เสียงที่ไปปรากฎกับผู้สังเกตจะเปลี่ยนไปจากความถี่ที่แท้จริงของแหล่งกำเนิดเสียง

  21. vo vo l+vs/f l- vs/f O O S u u vs อัตราเร็วปรากฏ O เข้าหา O ออกห่าง ความยาวคลี่นปรากฏ S เข้าหา S ออกห่าง O เข้าหา เช่น S เข้าหา

  22. vs S fs O fob vo fs ระบบวัดการทำงานของหัวใจโดยใช้ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ fob fs fs' fob'

  23. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (สัมพัทธภาพ) Vso=อัตราเร็วสัมพัทธ = ‘+’ เคลื่อนเข้าหา

More Related