980 likes | 2.24k Views
ภาวะวิกฤตทางระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine crisis). อ.พัชรินทร์ ไชยสุรินทร์. 1. 2. 3. 4. 5. ระบุภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉิน วิกฤตในระบบต่อมไร้ท่อที่สำคัญได้. อธิบายการประเมินทางการพยาบาลได้. ระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้. อธิบายการพยาบาลได้. อธิบายความหมาย สาเหตุ พยาธิสรีรภาพ S / S การรักษาได้.
E N D
ภาวะวิกฤตทางระบบต่อมไร้ท่อ(endocrine crisis) อ.พัชรินทร์ ไชยสุรินทร์
1 2 3 4 5 ระบุภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉิน วิกฤตในระบบต่อมไร้ท่อที่สำคัญได้ อธิบายการประเมินทางการพยาบาลได้ ระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้ อธิบายการพยาบาลได้ อธิบายความหมาย สาเหตุ พยาธิสรีรภาพ S/S การรักษาได้ วัตถุประสงค์
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine system) “hormone”
thyroidcrisis/thyroid strom/hyperthyroid crisis 1 addisonian crisis/adrenal crisis/adrenal insufficiency 2 pheochromocytoma 3 ภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินและวิกฤตในระบบต่อมไร้ท่อที่สำคัญ
Diagram ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ที่สำคัญ “thyroidcrisis orthyroid strom” 1 2 3 • uncontrolled hyperthyroid • Severe thyrotoxicosis decompression (การทำงานของอวัยวะล้มเหลว) • เสียชีวิตได้ > 50% • พบในเพศหญิง > ชาย 5 เท่า • พบมากในอายุ 20-40 ปี • (Dahlen, 2002; Tidy, 2005)
โรคความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์โรคความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ ต่อมธัยรอยด์ (thyroidgland)
กลไกควบคุมการหลั่งธัยรอยด์ฮอร์โมนกลไกควบคุมการหลั่งธัยรอยด์ฮอร์โมน อาศัยไอโอดีนที่รับประทานเข้าไปเป็นวัตถุดิบ (~60-80 µg/day)
กลไกควบคุมการหลั่งธัยรอยด์ฮอร์โมนกลไกควบคุมการหลั่งธัยรอยด์ฮอร์โมน • T4 &T3 จะจับกับ thyroxine-binding globulin (TBG) จากตับ เพื่อดูดซึมเข้าสู่เซลล์ • T3 มีประสิทธิภาพสูงกว่า T4 แต่มีช่วง half-life สั้นกว่า และพบในกระแสเลือดน้อยกว่า T4 • T4 reverse to T3 ได้
Thyroid cell 1. follicular cells; thyroxin (T4)triiodothyronine (T3) -ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย -การเจริญเติบโตของกระดูก สมอง และระบบประสาท 2. parafollicular cells (clear cells) ; calcitonin -ควบคุมระดับแคลเซียมในร่างกาย
ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ thyroid • hypothyroidism • ทารก แคระแกรน เติบโตช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลิ้นใหญ่ ปัญญาเสื่อม • ผู้ใหญ่บวมใสใต้ผิวหนัง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผิวหนังแห้ง ซีด สติปัญญาเชื่องช้า เกิดโรคคอพอกชนิดธรรมดา • hyperthyroidism • คอพอกชนิดเป็นพิษ • ผอม น้ำหนักลด • กินจุ อ่อนแอ • ตอบสนองต่อสิ่งเร้ามากและไวขึ้น
Hyperthyroidism or thyrotoxicosis • heat intolerance, • increased energy, • difficulty sleeping, • diarrhea and anxiety. exophthalmos
Myxedema • dry skin, • swellings around the lips & nose, • mental deterioration, • a subnormal basal metabolic rate
1 4 2 3 • การเพิ่มขึ้นของFT3 & FT4 • หลังผ่าตัดต่อมธัยรอยด์ • ได้รับradioactive iodine • ปัจจัยอื่นๆ • ได้รับไอโอดีนจากอาหาร ยา • ได้รับยาธัยรอยด์ฮอร์โมน • หยุดยารักษาธัยรอยด์เป็นพิษก่อนกำหนด • การคลำต่อมธัยรอยด์ • ระดับ thyroid binding protein (TBG) ลดลง • ภาวะ nonthyroidal illness (มีการสร้าง TBG ลดลง) • ภาวะเครียดต่าง ๆ (stress) • การคลอดบุตร • การติดเชื้อ • การผ่าตัด • อุบัติเหตุ หรือภาวะทางจิตใจอย่างรุนแรง thyroidcrisis orthyroid strom(pathophysiology)
thyroidcrisis orthyroid strom(signs & symtomps) • 1. ไข้สูง > 38.5° Cหรือ 102 ° F • 2. ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง; กระวนกระวาย กระสับกระส่าย สับสน จนถึง coma บางรายมี psychosis • 3. เกิดภาวะ CHF or tachyarrhymia(>140) • 4. คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย มีปวดท้องได้ บางรายอาจพบjaundice • 5. อื่นๆ;acute abdomen, status epilepticus, coma, stroke และ ARF fromrhabdomyolysis(Myoglobin breaks down)
thyroidcrisis orthyroid strom(signs & symtomps) • การตรวจร่างกาย : พบอาการและอาการแสดง • เกณฑ์การวินิจฉัยของ Burch และ Wartofsky
เกณฑ์ในการวินิจฉัยภาวะ Thyroid crisis (Burch &Wartofsky)
เกณฑ์ในการวินิจฉัยภาวะ Thyroid crisis (Burch &Wartofsky) **ถ้าได้ค่า >45 ถือเป็นภาวะthyroid crisis
ตัวอย่างผู้ป่วย Thyroid storm • ผู้ป่วยชายไทยอายุ 28 ปี มาโรงพยาบาลด้วยเรื่องใจสั่นมากขึ้นมา 2 วัน โดยมีอาการใจสั่น เป็นพักๆ อาการอื่นๆที่พบได้แก่นอนราบไม่ได้ เหนื่อยง่าย มีหอบเหนื่อยกลางคืน ขาและท้องบวม ก้อนที่คอโตมากขึ้น ตัวเหลืองตาเหลือง เหงื่อออกมาก มือสั่น มีไข้สูงไม่มีหนาวสั่น ไอแห้งๆ คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลวเป็นน้ำ 5-6 ครั้งต่อวัน อ่อนเพลีย กระสับกระส่าย ผู้ป่วยซื้อยาลดไข้มาทานไข้ไม่ลง ก่อนหน้านี้มีอาการใจสั่นเป็นๆหายๆ ท้องเสียถ่ายเหลวมาหลายเดือน แต่ช่วง 2 วันนี้อาการเป็นมากขึ้นจึงมาโรงพยาบาล
ผู้ป่วยให้ประวัติว่ามีโรคประจำตัว คือ โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ รักษาด้วยยาแต่ไม่ได้รับประทานยามา 2 ปี ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์1 แบนต่อสัปดาห์ สูบบุหรี่ 2 มวนต่อวันมา 10 ปีผู้ป่วยปฏิเสธประวัติการใช้ยา/สารเสพติดทุกชนิดหรือการผ่าตัดต่างๆ ปฏิเสธการได้รับอุบัติเหตุ ปฏิเสธประวัติแพ้ยาหรือแพ้อาหาร ปฏิเสธโรคประจ้าตัวอื่นๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคไต เป็นต้น
การตรวจร่างกาย ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย มีตัวเหลืองตาเหลือง สัญญาณชีพมีอุณหภูมิร่างกาย 38 องศาเซลเซียส ชีพจร 140 ครั้งต่อนาทีไม่เป็นจังหวะ อัตราหายใจ 28 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 167/87 มิลลิเมตรปรอท • การตรวจร่างกายทั่วไป มีตาเหลืองเล็กน้อย ต่อมไทรอยด์โตขนาดประมาณยาว 10 เซนติเมตร กว้าง 5 เซนติเมตร การขยายตัวของทรวงอกกับท้องไม่สอดคล้องกัน (paradoxical movement) ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation มีท้องบวมน้ำ มือสั่น แขนและขาบวม กดบุ๋มที่ขาทั้งสองข้างเกรด 2
อภิปราย Thyroid storm • ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเดิมเป็นโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ ไม่ได้รับประทานยามา 2 ปี • อาการและอาการแสดง 4 ระบบ ได้แก่ • 1.อุณหภูมิร่างกาย มีไข้สูง • 2.ระบบหัวใจและไหลเวียนโลหิต ชีพจรเต้นเร็วแบบไม่เป็นจังหวะ ใจสั่น หายใจหอบเหนื่อย ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation ท้องบวมและแขนขาบวม • 3.ระบบทางเดินอาหาร มีตาเหลือง ก้อนที่คอโต ท้องเสียถ่ายเหลวคลื่นไส้อาเจียน • 4.ระบบประสาท มือสั่น กระสับกระส่าย
คิดตามเกณฑ์วินิจฉัยของ Burch และ Wartofsky • ได้คะแนนดังนี้ • ไข้ 38 องศาเซลเซียส (100.4 F) = 10 คะแนน • agitation = 10 คะแนน • unexplained jaundice = 20 คะแนน • heart rate 140 bpm = 25 คะแนน • crepitation = 15 คะแนน • atrial fibrillation = 10 คะแนน • รวมคะแนนทั้งหมดได้ 90 คะแนน
การรักษา 3 ขั้นตอน • 1. การแก้ไขภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ 1.1 ให้ยาที่ยับยั้งการสร้างฮอร์โมน; PTU1,200-1,500mg/day 1.2 ให้ยาที่ขัดขวางการหลั่งฮอร์โมน; Lugol iodine / SSKI 200-500mg/day เริ่มให้หลังจากให้ PTU ไป 1-2 ชั่วโมง 1.3 ให้ยาที่ยับยั้งการเปลี่ยน T4 เป็น T3 ที่เนื้อเยื่อส่วนปลาย; radiographic contrast dyes ได้แก่ ipodate & ipanoate และ β-blocker, glucocorticoids เช่น dexamethazone& PTU ขนาดสูง 1.4 ยับยั้งการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนต่อเนื้อเยื่อโดยตรง; β-blocker เช่น Propanolol 1.5 ช่วยเหลือกรณีที่อาการรุนแรง;PD/ plasmapheresis
การรักษา 3 ขั้นตอน • 2. การรักษา และป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2.1 IV fluid เช่น 10%dextrose, วิตามินบี (มีการเผาผลาญสูง) 2.2 ลดไข้; acetaminophen, ice packs & cooling blankets ไม่ใช้salicylates (aspirin/ASA) แย่งจับ TBG ทำให้ FT4, FT3 เพิ่มขึ้น 2.3 แก้ไขภาวะ cardiac arrhythmia; digoxin, oxygen, diuretic 2.4 ให้ยา β-adrenergic blocker;propranolol (ลดอาการทางระบบ sympathetic) 2.5 ให้ยา glucocorticoids ยับยั้งการเปลี่ยน T4 เป็น T3 ที่เนื้อเยื่อส่วนปลาย และป้องกันภาวะ adrenal insufficiency จากภาวะ hyperthyroidism
การรักษา 3 ขั้นตอน • 3. การค้นหาและแก้ไขปัจจัยส่งเสริมต่างๆ • การให้ ABO ในผู้ที่มีภาวะติดเชื้อ • ค้นหาแหล่งอื่นที่สงสัยเป็นต้นเหตุ;การอดอาหาร ภาวะเครียด และภาวะซึมเศร้า • หากผู้ป่วยตอบสนองต่อการรักษา จะดีขึ้นใน 24-48 ชั่วโมง และอาจได้รับการรักษาด้วย antithyroid drug, การผ่าตัด หรือการใช้รังสีไอโอดีนต่อไป
การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การซักประวัติ : ประวัติโรคประจำตัว เช่น Grave’s disease, Hyperthyroidism หรือ thyrotoxicosis ที่ไม่ได้รักษาหรือรักษาไม่ถูกต้อง หรือมีปัจจัยส่งเสริมต่างๆ • การตรวจร่างกาย : พบอาการและอาการแสดงดังที่ได้กล่าวมา
การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ: • Thyroid function tests (TFT): T3, T4 & FT4 สูง, FT3 ปกติ/ต่ำ, TSH ต่ำ - CBC: Hb &Hct สูง, WBC:“shift to the left” -Hyperglycemia, Na & Ca สูง จากขาดน้ำและการสลายกระดูก - Liver function tests (LFTs): ALT, AST, LDH, creatinine kinase, alkaline phosphatase & serum bilirubin สูงขึ้น
การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การตรวจทางรังสี: - Chest radiography; CHF, pulmonary edemafrom heart failure and/or evidence of pulmonary infection - Head CT scanning; neuro • การตรวจอื่นๆ: - ECG; cardiac arrhythmias& ventricular tachycardia
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล • 1. เสี่ยงต่อ CO ลดลง เนื่องจากภาวะ cardiac arrhythmia หรือ congestive heart failure** • 2. CPP ลดลง เนื่องจากการเผาผลาญสารอาหารเพิ่มขึ้นและภาวะการหายใจ+หัวใจล้มเหลว • 3. ไม่สุขสบาย เนื่องจากมีไข้ • 4. เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ อิเลคโตรไลท์ และสารอาหาร เนื่องจากมีอัตราการเผาผลาญสารอาหารในระดับสูงกว่าปกติ • 5. วิตกกังวลต่อความเจ็บป่วย
การพยาบาลที่สำคัญ • 1. ประเมิน S/S ของ Thyroid crisis • 2. V/S, O2 sat และดูแลการได้รับออกซิเจน** • 3. เช็ดตัวลดไข้, ice packs, cooling blankets และให้ยาลดไข้ในกลุ่ม acetaminophenหลีกเลี่ยง การให้ aspirin • 4. ประเมิน S/S ของภาวะช็อก • 5. ดูแลการได้รับ IV fluid และติดตาม intake & output • 6. ดูแลให้นอนพัก จำกัดกิจกรรมตามความจำเป็น จัดสิ่งแวดล้อมที่มีความสงบและเย็น และดูแลให้มีความปลอดภัยต่อผู้ป่วย • 7. ติดตามผลตรวจต่างๆ
การพยาบาลที่สำคัญ (ต่อ) • คำแนะนำเพื่อควบคุมภาวะธัยรอยด์เป็นพิษ • การพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง • ห้ามใช้ยาในขนาดและความถี่มาก/น้อยกว่าที่แพทย์แนะนำ หากลืมรับประทานยาให้รับประทานทันทีที่นึกได้ หากเป็นเวลาใกล้กับมื้อถัดไปให้งดมื้อที่ลืมและข้ามไปรับประทานมื้อถัดไป ห้าม รับประทาน 2 มื้อควบ • ห้ามหยุดยาเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์
โรคความผิดปกติของต่อมหมวกไตโรคความผิดปกติของต่อมหมวกไต
adrenal gland • Adrenal cortex; ACTH control • mineralocorticoids; aldosterone • ควบคุมสมดุลของน้ำและ electrolyte • glucocorticoids; cortisol • ควบคุมการเผาผลาญอาหาร • gonadocorticoidsเกี่ยวกับฮอร์โมนเพศ • Adrenal medulla; nerve signal control • ผลิตและหลั่งcatecholamine; epinephrine & norepinephrine • สัมพันธ์กับการทำงานของระบบ sympathetic
พยาธิสภาพของตอมหมวกไตพยาธิสภาพของตอมหมวกไต adrenal cortex adrenal medulla pheochromocytoma • cortical hyperfunction • Hyperaldosteronism(mineralocorticoids) • Cushing syndrome (glucocorticoids) • adrenogenital orvirilizing syndrome (gonadocorticoids) • cortical hypofunction • primary hypoadrenalism (Addison’s disease) • secondary hypoadrenalism • tertiary hypoadrenalism
การทำงานของ hypothalamic-pituitary axis (HPA)
ความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นนอกที่สำคัญความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นนอกที่สำคัญ “addisonian crisis /adrenal crisis / adrenal insufficiency” ต่อมหมวกไตชั้นนอกผลิตฮอร์โมน glucocorticoidsได้น้อยกว่าปกติ 1. Primary adrenal insufficiency (Addison’s disease); ผิดปกติที่ต่อมหมวกไต - TB or fungal infection - การทำลายของ adrenalcortex, adrenal hemorrhage, autoimmune disease 2. Secondary adrenal insufficiency; ผิดปกติที่ต่อมใต้สมอง จากเนื้องอก,หลังผ่าตัดต่อมใต้สมอง, การขาดเลือดไปเลี้ยงจากตกเลือดหลังคลอด (Sheehan’s syndrome), การติดเชื้อ 3. Tertiary adrenal insufficiency; ผิดปกติที่ไฮโปธาลามัส - การกดการทำงานของ hypothalamic-pituitary axis (HPA) จากการใช้ยา glucocorticoids, endogenous steroids (จาก tumor),อุบัติเหตุทางสมอง, ฉายแสง - ทำให้การหลั่งของ CRH & ACTH ลดลง, การทำงานของ adrenalcortex ลดลง
adrenal insufficiency Chronic adrenal insufficiency Acute adrenal insufficiency • การหยุดยา glucocorticoid ทันที • sepsis • surgical stress • ภาวะแทรกซ้อนจากยา anticoagulation • adrenal hemorrhage จากการติดเชื้อ meningococcemia, pseudomonas a. (Waterhouse-Friderichsen syndrome)
อาการและอาการแสดง** 2˚ AI - pale skin - อาการแสดงของการขาด pituitary hormone อื่นๆ - เหนื่อย อ่อนแรง ซึมเศร้า เบื่ออาหาร น้ำหนักลด - มึนศีรษะ orthostatic hypotension - คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย - hyponatremia, hypoglycemia, mild normocytic anemia, lympocytosis - hyperkalemia - hyperpigmentation (จากACTH ที่สูงขึ้น) - โรคด่างขาว (vitiligo) - autoimmune thyroid disease - อาการทางระบบประสาทส่วนกลางใน drenomyeloneuropathy
Primaryadrenal insufficiency hyperpigmentation vitiligo
Secondary adrenal insufficiency pale skin
การรักษา • 1. ดูแลในเรื่องของการหายใจและการไหลเวียนโลหิต • 2. IV fluid D5NS&50% dextrose ในผู้ป่วย hypoglycemia • 3. การตรวจอิเลคโตรไลท์ในกระแสเลือด • 4. ให้ hydrocortisone 100 mg IV แต่ในระหว่างทดสอบ ACTH stimulation testing ให้ dexamethasone แทน • 5. ให้ fludrocortisone acetate (mineralocorticoid) รักษาอาการสูญเสียน้ำและเกลือแร่ • 6. การแก้ไขสาเหตุหรือปัจจัยชักนำต่างๆ เช่น ให้ glucose, thiamine, naloxone, NaHCO3 เป็นต้น • 7. การผ่าตัด adrenalectomy, hyphysectomy
การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การซักประวัติ : อ่อนเพลียhyperpigmentationน้ำหนักลด ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องผูก เป็นลมหมดสติ โรคด่างขาว • การตรวจร่างกาย : orthostatic hypotension, tachycardia, hyperpigmentation • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :hyponatremia, hyperkalemia hypoglycemia & acidosisการตรวจ CBC, BUN, creatinine, cortisol level, serum calcium และ TFT • การตรวจทางรังสี :CT scan หรือ MRI • CT abdomen พบความผิดปกติที่ adrenal gland • CT brain พบความผิดปกติที่ pituitary gland
การประเมินทางการพยาบาลการประเมินทางการพยาบาล • การตรวจพิเศษอื่นๆ -ACTH stimulation test;เจาะเลือดประเมินค่า serum cortisol ที่ baseline หลังจากนั้นฉีด cosyntropin (ACTH) แล้วเจาะเลือดประเมินค่า serum cortisol ซ้ำทุก 30, 60 นาที และ 6 ชั่วโมง -serum cortisol สูงขึ้น ไม่มีภาวะ adrenal insufficiency -serum cortisol ต่ำลง/ไม่ปป. มีภาวะ adrenal insufficiency -ECG;พบ elevated peaked T waves (hyperkalemia) -24-hour urinary cortisol
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล • 1. CO ลดลงเนื่องจากการสูญเสียน้ำและโซเดียม/น้ำตาลในเลือดต่ำ • 2. มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรไลท์ เนื่องจากมีการสูญเสียสารเหลวและโซเดียมในร่างกายจากการอาเจียนและถ่ายเหลว • 3. เสี่ยงต่อการเต้นของหัวใจผิดปกติจาก K สูง • 4. อุณหภูมิร่างกายสูง จากกระบวนการเผาผลาญเพิ่มขึ้น • 5. ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมลดลง เนื่องจากอ่อนเพลีย • 6. มีภาวะไม่สมดุลของสารอาหาร: ได้รับน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากกระบวนการเผาผลาญสารอาหารเพิ่มขึ้น รับประทานอาหารไม่ได้ คลื่นไส้ อาเจียน • 7. ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรค
กิจกรรมการพยาบาล • 1. IV fluid ตามแผนการรักษา กระตุ้นดื่มน้ำ>3,000 ml/day และรับอาหารเพิ่มโซเดียม (hyponatremia) • 2. ประเมินดู intake & output และประเมิน S/S ของภาวะขาดน้ำ • 3. V/S ประเมินภาวะขาดน้ำ; hypotension ชีพจรเต้นเบา เร็ว • 4. แนะนำการเปลี่ยนท่าช้าๆ ป้องกันการเกิดภาวะ orthostatic hypotension และดูแลป้องกันอุบัติเหตุจากการลื่นล้มตกเตียง • 5. ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ดูแลให้ bed rest เพื่อลดปัจจัยกระตุ้นต่างๆ ที่อาจก่อให้เกิดภาวะวิกฤติ หากผู้ป่วยได้รับฮอร์โมนทดแทนแล้วจึงค่อยๆ เพิ่มการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
กิจกรรมการพยาบาล • 6. ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีพลังงานสูง ครั้งละน้อยแต่เพิ่มจำนวนมื้อ ประเมิน bowel sound และอาการถ่ายเหลว • 7. ให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน 7.1 การรับประทานยาในกลุ่ม corticosteroid อาการและอาการแสดงหากปริมาณยาในร่างกายสูงหรือต่ำเกินไป นอกจากนั้นควรให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเพิ่มยาด้วยตนเองหากมีปัจจัยกระตุ้นต่างๆ ที่อาจก่อให้เกิดภาวะวิกฤติได้ 7.2 การมี hydrocortisone ชนิดฉีดติดตัว สอนวิธีฉีดยาด้วยตนเอง หากมีภาวะวิกฤติต่อมหมวกไต
กิจกรรมการพยาบาล 7.3 หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นต่างๆ เช่น ความเย็นหรือร้อน อารมณ์ตึงเครียด ระวังการเกิดการติดเชื้อต่างๆ 7.4 การรับประทานอาหารที่มีคุณค่าและมีพลังงานสูง โซเดียมสูงและ โปแตสเซียมต่ำ 7.5 การกลับมาตรวจตามนัด หรือเมื่อมีอาการผิดปกติ 8. ในผู้ที่ทำ adrenalectomyก่อนผ่าตัดให้รับประทานอาหารเพิ่ม Na, ลด K, เพิ่มการดื่มน้ำ > 3000 cc/day, เพิ่มอาหารที่มีวิตามินและโปรตีนสูง
ความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นในที่สำคัญความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นในที่สำคัญ “pheochromocytoma”