230 likes | 479 Views
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. Thailand Competitiveness Matrix :TCM. การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของไทย. โดย นางประนาถ พิพิธกุล. ผู้อำนวยการส่วนวิจัยเศรษฐกิจพืชสวน. การจัดการเชิงกลยุทธ์. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Formulation).
E N D
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Thailand Competitiveness Matrix :TCM การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของไทย โดย นางประนาถ พิพิธกุล ผู้อำนวยการส่วนวิจัยเศรษฐกิจพืชสวน
การจัดการเชิงกลยุทธ์ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Formulation) การนำแผนไปปฏิบัติ(Implementation) การติดตามและประเมินผล (Evaluation & Control)
การวางแผน หมายถึง หน้าที่ทางการบริหารในการกำหนดจุดหมายและการตัดสินเลือกวิธีการที่ดีที่สุดให้บรรลุจุดหมายนั้น การวางแผนต้องคำนึงถึงคำถามที่ต้องการหาคำตอบ 3 ประการ คือ ปัจจุบันอยู่ที่ใด Where are we now? อนาคตต้องการจะไปที่ใด Where do we want to be? ทำอย่างไรจึงจะไปถึง? How will we get there? Where do we go from here?
ผลลัพธ์ วิธีการ/เครื่องมือ คำถาม 1.ปัจจุบันการดำเนินธุรกิจเป็นอย่างไร 1. SWOT 1. วิเคราะห์สภาวะแวดล้อม วิเคราะห์การแข่งขัน การบริหารงานด้านต่างๆ โดยวิเคราะห์ตามหน้าที่ธุรกิจ กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2. วิสัยทัศน์ ภารกิจ กุญแจแห่งความสำเร็จ วัตถุประสงค์ 2. ในอนาคตเราต้องการ ไปที่ใด 2. นำผลลัพธ์จากSWOTมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดทิศทางกิจการ 3. BCG TCM GE Porter Model 3. ทำอย่างไรถึงจะไปจุดนั้น 3. กลยุทธ์
การกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ในแต่ละสินค้า (Strategic Positioning) New Wave Opportunity Star High • High demand • Low Competitiveness • High demand • Medium Competitiveness • High demand • High Competitiveness Level of Industry Attractiveness Question Mark Trouble Falling Star Low • Low demand • Low Competitiveness • Low demand • Medium Competitiveness • Low demand • High Competitiveness High Low Medium Thai Producers’ Competitiveness เป็นการประยุกต์ใช้ Thailand Competitiveness Matrix : TCMในการกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ในการแบ่งกลุ่มของสินค้าตามศักยภาพในการแข่งขัน
การกำหนดกลยุทธ์ในแต่ละ QuadRant New Wave Opportunity Star • เน้นส่งเสริมการลงทุน • ยกระดับความสามารถในการผลิต • สร้างองค์ความรู้โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ • สร้างความเข้มแข็งของปัจจัยสำคัญใน Value Chain High Level of Industry Attractiveness Question Mark Trouble Falling Star Low High Low Medium Thai Producers’ Competitiveness • เน้นส่งเสริมการลงทุน • สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงอุตสาหกรรมทั้งภายในและภายนอก • แก้ไขกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค • การร่วมทุนระหว่างประเทศ • รักษาส่วนแบ่งตลาด • สร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ • พัฒนาเพื่อรองรับความต้องการของตลาดเดิม และสร้าง/แสวงหาโอกาสในตลาดใหม่ • สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงอุตสาหกรรมทั้งภายในและภายนอก • ปรับปรุงด้านมาตรฐาน • สร้างความเป็น Niche • สร้าง/พัฒนา Clusterอุตสาหกรรม • ความร่วมมือระหว่างประเทศ • แสวงหาตลาดใหม่ • สร้างคุณค่าให้อุตสาหกรรมโดยยกระดับ Value Chain • สร้างความเป็น Niche • ปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของตลาดทั้งภายในประเทศและภูมิภาค
หลักเกณฑ์ในการการกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ในแต่ละสินค้า (Strategic Positioning) แกนตั้ง (Attractiveness)แสดงถึง ความน่าสนใจของสินค้าในตลาด โดยทั่วไปจะพิจารณาจากมูลค่าการนำเข้าหรือส่งออกสินค้าของไทย เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอาเซียน ใช้อัตราการขยายตัวของมูลค่าการนำเข้าของอาเซียนของสินค้าในช่วง 5 ปี เป็นเกณฑ์กลางในการแบ่งระดับความน่าสนใจของตลาดสินค้า (Low หรือ HighAttractiveness ) ใช้อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของไทยไปยังอาเซียนของสินค้าในช่วง 5 ปี ในการกำหนดตำแหน่ง ความน่าสนใจของสินค้าของไทย
หลักเกณฑ์ในการการกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ในแต่ละสินค้า (Strategic Positioning) แกนนอน (Competitiveness)แสดงถึงความสามารถในการแข่งขันของไทยในสินค้า เมื่อเปรียบเทียบประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน แบ่งระดับความสามารถในการแข่งขันของสินค้าไทยเมื่อเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งที่สำคัญในอาเซียน ออกเป็น 3 ระดับ คือ Low Medium และ HighCompetitiveness
หลักเกณฑ์ในการการกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ในแต่ละสินค้า (Strategic Positioning) ปัจจัยที่นำมาใช้ในการกำหนดระดับ Competitivenessของไทยเมื่อเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งที่สำคัญในอาเซียน (15 ปัจจัย)
มูลค่าการนำเข้ายางธรรมชาติของอาเซียน ปี 2550-2554 หน่วย : พันดอลลาร์ ที่มา :Trade map , กรกฎาคม 2555
มูลค่าการส่งออกยางธรรมชาติของไทยไปตลาดอาเซียน ปี 2550-2554 หน่วย : พันดอลลาร์ ที่มา :Trade map , กรกฎาคม 2555
ผลผลิตยางธรรมชาติของไทยเปรียบเทียบกับคู่แข่งในอาเซียนผลผลิตยางธรรมชาติของไทยเปรียบเทียบกับคู่แข่งในอาเซียน
Thailand Competitiveness Matrix (TCM) : ยางพาราในตลาดอาเซียนเปรียบเทียบคู่แข่ง 40 New Wave Opportunity Star 58.57, 38 30 เวียดนาม Attractiveness Gr มูลค่านำเข้ายางพาราของอาเซียน 10 ประเทศ (5ปี) = 21.80 21.80 62.86 , 20.71 20 75 , 13.98 มาเลเซีย • แสวงหาตลาดใหม่ • สร้างคุณค่าให้อุตสาหกรรมโดยยกระดับ Value Chain • สร้างความเป็น Niche • ปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของตลาดทั้งภายในประเทศและภูมิภาค 41.43, 7.42 10 Gr มูลค่าส่งออกยางพาราไทยไปอาเซียน 9 ประเทศ (5ปี) =13.98 ไทย Falling Star Trouble Question Mark อินโดนีเซีย 0 35 70 0 100 Competitiveness
ASEAN Competitiveness Matrix (ACM) : ยางพาราของอาเซียนในตลาดโลก 40 New Wave Opportunity Star 55.71, 26.02 30 Attractiveness 80.71, 19.11 นอกอาเซียน Gr มูลค่านำเข้ายางพาราของโลก(5ปี) = 20.85 20.85 20 ASEAN • แสวงหาตลาดใหม่ • สร้างคุณค่าให้อุตสาหกรรมโดยยกระดับ Value Chain • สร้างความเป็น Niche • ปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของตลาดทั้งภายในประเทศและภูมิภาค Gr มูลค่าส่งออกยางพาราของอาเซียน (10 ประเทศ เฉลี่ย 5 ปี)=19.11 10 Falling Star Trouble Question Mark 0 35 70 0 100 Competitiveness
Thailand Competitiveness Matrix (TCM) : ยางพาราในตลาดโลกเปรียบเทียบคู่แข่ง 40 New Wave Opportunity Star 41.43, 21.59 30 Attractiveness Gr มูลค่านำเข้ายางพาราของโลก(5ปี) = 20.85 75 , 20.42 20.85 อินโดนีเซีย 20 62.86 ,17.14 ไทย • แสวงหาตลาดใหม่ • สร้างคุณค่าให้อุตสาหกรรมโดยยกระดับ Value Chain • สร้างความเป็น Niche • ปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของตลาดทั้งภายในประเทศและภูมิภาค มาเลเซีย 10 58.57, 2.80 Gr มูลค่าส่งออกยางพาราไทยไปโลก (5ปี) =20.42 Falling Star Trouble Question Mark เวียดนาม 0 35 70 0 100 Competitiveness