540 likes | 733 Views
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1. ตัวชี้วัดของกรมอนามัย. ข้อมูลระหว่าง ตุลาคม 2549 – 25 มีนาคม 2550. พญ.ศิริพร กัญชนะ. หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวง. แผนการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ ประจำปี 2550. แผนการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ ประจำปี 2550. คณะที่ 1.
E N D
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 ตัวชี้วัดของกรมอนามัย ข้อมูลระหว่าง ตุลาคม 2549 – 25 มีนาคม 2550 พญ.ศิริพร กัญชนะ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวง
แผนการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ ประจำปี 2550
แผนการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ ประจำปี 2550
คณะที่ 1 โครงการตามพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ โครงการอันเกี่ยวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์
1. โครงการฟันเทียมพระราชทาน ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับบริการใส่ฟันเทียมตามเป้าหมายที่กำหนด เกณฑ์ ร้อยละ 80
1. โครงการฟันเทียมพระราชทาน
2. โครงการควบคุมป้องกันการขาดสารไอโอดีน ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ (ไอโอดีน ≥30 ppm) เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2. โครงการควบคุมป้องกันการขาดสารไอโอดีน ร้อยละของสถานที่ผลิตเกลือบริโภคที่มีการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนมีคุณภาพ เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 75
2. โครงการควบคุมป้องกันการขาดสารไอโอดีน
โครงการพัฒนายุทธศาสตร์และกลไกจำเพาะด้านสุขภาพในการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้โครงการพัฒนายุทธศาสตร์และกลไกจำเพาะด้านสุขภาพในการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ คณะที่ 2 5. ยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิต
สรุปผลการตรวจราชการตามตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์สรุปผลการตรวจราชการตามตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์
5.1 พัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละของอัตราตายของมารดาต่อการเกิดมีชีพ เกณฑ์ ไม่เกิน 36 ต่อแสนการเกิดมีชีพ
5.1 พัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละของอัตราตายปริกำเนิดของทารกต่อการเกิด เกณฑ์ ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิด
5.1 พัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละของอัตราหญิงมีครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
5.1 พัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละของอัตราการฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
5.1 พัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละของอัตราการคลอดในสถานบริการ เกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
5. ยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิต งานอนามัยแม่และเด็ก
โครงการสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของขบวนการสุขภาพภาคประชาชนโครงการสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของขบวนการสุขภาพภาคประชาชน คณะที่ 5
1. โครงการสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของขบวนการสุขภาพภาคประชาชน ร้อยละของชมรมสร้างสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับมัธยมศึกษาในเขตเมืองและหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคระดับจังหวัดในเขตเมือง ดำเนินกิจกรรมวัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ง เกณฑ์ ร้อยละ 80
1. โครงการสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของขบวนการสุขภาพภาคประชาชน
2. โครงการพัฒนาส้วมสาธารณะ ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS ผ่านเกณฑ์ครบทั้ง 16 ข้อ เกณฑ์ ร้อยละ 60
2. โครงการพัฒนาส้วมสาธารณะ
3. โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านการประเมินและรับรองตามกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เกณฑ์ ร้อยละ 86 จากรายงาน e-Inspection ตค.49-25 มีค.50 86
3. โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านการประเมินและรับรองตามกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เกณฑ์ ร้อยละ 86 จากรายงานกรมอนามัยตค.49-25 มีค.50
3. โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
4. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละของโรงเรียนทุกสังกัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เกณฑ์ ร้อยละ 80
4. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อโครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ คณะที่ 7
4. โครงการควบคุมและป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก ร้อยละของหญิงคลอดที่ติด HIV ได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ขณะตั้งครรภ์ เกณฑ์ ร้อยละ 95 จากรายงานกรมอนามัยตค.49-25 มีค.50 95
4. โครงการควบคุมและป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก ร้อยละของเด็กอายุ 18-24 เดือนที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ HIV ได้รับการตรวจเลือด HIV เกณฑ์ ร้อยละ 70
4. โครงการควบคุมและป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก
โครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อโครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ คณะที่ 8
1. โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม ร้อยละของสตรีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านม ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ เกณฑ์ ร้อยละ 40
1. โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม
2. โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละของสตรีอายุ 30 – 45 ปี ในพื้นที่เป้าหมายได้รับการตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA(เต็มพื้นที่ใน 13 จังหวัด) เกณฑ์ ร้อยละ 10 จ. นครพนม ได้ปิดโครงการไปแล้วตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ 2550 จ.หนองคาย ไม่ได้รายงาน ส่วน จ.อุบลราชธานี กำลังดำเนินการ
2. โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
2. โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
3. โครงการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย เกณฑ์ ร้อยละ 80
3. โครงการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์
โครงการส่งเสริมการพัฒนาการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพ คณะที่ 9
1. โครงการอาหารปลอดภัย ร้อยละของร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน GFGT เกณฑ์ ร้อยละ 65 6
1. โครงการอาหารปลอดภัย ร้อยละของตลาดประเภทที่ 1 ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ เกณฑ์ ร้อยละ 60 6
2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ร้อยละของผลงานตามตัวชี้วัดของการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก เกณฑ์ ร้อยละ 100
2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ร้อยละของมารดาและทารกที่เสียชีวิตตามเกณฑ์ ได้รับการตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูลและดำเนินการแก้ไขสาเหตุ โดย MCH Board ของจังหวัด ร้อยละของมารดาที่ได้รับการตรวจสอบและแก้ไขปัญหา
2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ร้อยละของมารดาและทารกที่เสียชีวิตตามเกณฑ์ ได้รับการตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูลและดำเนินการแก้ไขสาเหตุ โดย MCH Board ของจังหวัด ร้อยละของทารกตายที่ได้รับการตรวจสอบและแก้ไขปัญหา
2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ร้อยละของมารดาและทารกที่เสียชีวิตตามเกณฑ์ ได้รับการตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูลและดำเนินการแก้ไขสาเหตุ โดย MCH Board ของจังหวัด ร้อยละของมารดาและทารกตายที่ได้รับการตรวจสอบและแก้ไขปัญหา
2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ร้อยละของตำบลที่มีครอบครัวผ่านเกณฑ์พื้นฐานครอบครัวแข็งแรง ไม่น้อยกว่า 80 ครอบครัว
2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
นโยบายที่ชัดเจน / ให้ความสำคัญ บุคลากรมีความพร้อม เป็นโครงการต่อเนื่อง/ ระบบการดำเนินงานชัดเจน มีการบูรณาการและมีเครือข่าย มีระบบการเฝ้าระวังและตรวจสอบอย่างต่อเนื่องมีช่องทางร้องเรียน ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จ