10 likes | 263 Views
ผลการเรียนการสอนโดยวิธีการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) เรื่อง พืชในท้องถิ่น : เพกา THE OUTCOMES OF THE INTEGRATED PARALLEL INSTRUCTION ON TOPIC OF PLANT IN THE LOCAL: PAKA ( Oroxylum indicum Vent.) จริยา พิชัยคำ : Jariya Pichaikum คงศักดิ์ ธาตุทอง : Kongsak Thathong.
E N D
ผลการเรียนการสอนโดยวิธีการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) เรื่อง พืชในท้องถิ่น: เพกาTHE OUTCOMES OF THE INTEGRATED PARALLEL INSTRUCTION ON TOPIC OF PLANT IN THE LOCAL: PAKA (Oroxylum indicum Vent.)จริยา พิชัยคำ : Jariya Pichaikumคงศักดิ์ ธาตุทอง : Kongsak Thathong ตารางที่ 2 แสดงจำนวนนักเรียนที่ผ่านเมื่อเทียบกับเกณฑ์ ที่มาและความสำคัญ กลุ่มเป้าหมาย การเรียนการสอนบูรณาการแบบขนานจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างความคิดรวบยอดในศาสตร์ต่างๆ ทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายและมีประโยชน์ในการขจัดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาต่างๆ ในหลักสูตร ช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ความสนใจในลักษณะองค์รวม ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวได้ และทำให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงที่หลากหลายและเห็นความสำคัญของท้องถิ่นตนเอง • นักเรียน :นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่5 จำนวน 26 คน • ครูผู้สอน :ครูสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระการเรียนรู้ • ภาษาต่างประเทศ และสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ • เทคโนโลยี จำนวน 3 คน • สถานที่ศึกษา : โรงเรียนบ้านฝาง อ. กระนวน จ.ขอนแก่น • ระยะดำเนินการ : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548 วิทยาศาสตร์ นักเรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยีและภาษาต่างประเทศ สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ60 ,50 และ 50 ตามลำดับ และมีจำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร้อยละ 70 ,80 และ80 ตามลำดับ บูรณาการขนาน ใช้ต้นเพกา วัตถุประสงค์การวิจัย ภาษาต่างประเทศ การงานอาชีพฯ 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่เกิดขึ้นจาก การสอนโดยใช้วิธีการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) เรื่อง พืชในท้องถิ่น: เพกา 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูและนักเรียน เกี่ยวกับกิจกรรม การสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) เรื่อง พืช ในท้องถิ่น: เพกา สรุปและอภิปรายผลการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดเห็นของครูและนักเรียน ตารางที่ 1 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนรายสาระ ด้านความคิดเห็นของครูและนักเรียนต่อวิธีการสอนบูรณาการแบบขนานโดยภาพรวมเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยวิธีการบูรณาการแบบขนานครั้งนี้ ดี อยู่ในระดับ ”มาก” ระเบียบวิธีวิจัย ประโยชน์ที่ได้จากงานวิจัยครั้งนี้ ผลงานวิจัยครั้งนี้ครูและผู้สนใจสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการของตนเอง ให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ. การศึกษา 2542 ระบุไว้ได้เป็นอย่างดี ระเบียบวิธีวิจัย: การวิจัยแบบหนึ่งกลุ่มทดสอบหลังทดลอง (One Group Posttest Designs)