1 / 27

พยาธิใบไม้ปอด

พยาธิใบไม้ปอด. (Lung Fluke). พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke) - เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในปอดของโฮสต์ - ทำให้เกิดโรค Paragonimiasis - ได้แก่ Paragonimus spp. พบ 6 species ใน คนและในสัตว์ คือ 1. Paragonimus westermani (Kerbert , 1878) 2. Paragonimus heterotremus (Chen & Hsia , 1964)

patch
Download Presentation

พยาธิใบไม้ปอด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke)

  2. พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke) - เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในปอดของโฮสต์ - ทำให้เกิดโรค Paragonimiasis - ได้แก่ Paragonimus spp.

  3. พบ 6 species ใน คนและในสัตว์ คือ • 1. Paragonimus westermani (Kerbert , 1878) • 2. Paragonimus heterotremus (Chen & Hsia , 1964) • 3. Paragonimus siamensis (Miyazaki & Wykoff , 1965) • 4. Paragonimus bankokensis (Miyazaki & Vajarasthira, • 1966) • 5. Paragonimus harinasutai (Miyazaki & Vajarasthira, • 1968) • 6. Paragonimus macrorchis (Chen , 1962)

  4. พบที่เป็นสาเหตุของโรคในคน ได้แก่ • Paragonimus westermani • (Kerbert , 1878) • Paragonimus heterotremus • (Chen & Hsia , 1964)

  5. การแพร่กระจาย (Distribution) • - พบได้ทั่วโลก • - พบมากแถบตะวันออกไกล ญี่ปุ่น จีน เกาหลี • ไทย ฟิลิปปินส์ อินเดีย แอฟริกา อเมริกาใต้ • - ในประเทศไทย พบครั้งแรก พ.ศ. 2470 โดย • ศาสตราจารย์ น.พ. เฉลิม พรหมมาส • พ.ศ. 2498 พบแหล่งระบาด ในภาคกลาง • แถวจังหวัดสระบุรี นครนายก • ภาคเหนือ จังหวัดเพชรบูรณ์ พิษณุโลก

  6. รูปร่าง (Morphology) • - เป็นพยาธิใบไม้ที่ตัวหนา • - ขนาด • Paragonimus westermani ยาว 8 –20 mm • กว้าง 5 – 9 mm • Paragonimus heterotremusยาว 10 mm • กว้าง 5 mm

  7. ด้าน Posterior เรียวกว่า Anterior • สีน้ำตาลแดง • ผิว เป็น Scale – like – spine • - Testes • Paragonimus westermani เป็น lobe • เรียงตัวแบบ Opposite • Paragonimus heterotremusเป็น branch

  8. ขนาด sucker • P. westermani Oral & Ventral sucker ขนาดใกล้เคียงกัน • P. heterotremus Oral sucker ใหญ่กว่า ventral 2 เท่า • ไข่ สีน้ำตาลปนเหลือง • Ovoid shape เปลือกหนา • ขนาด 80 –118 X 48 – 60 um • มี Operculum เป็น Unembryonated egg

  9. P. Westermani (Sun,1988) Pa

  10. วงชีวิต (Life cycle) • Adult อยู่ในปอด ของ Definitive host • Form cyst อยู่เป็นคู่ๆ • - ไข่พยาธิออกมากับเสมหะ หรือ อุจจาระ • ลงน้ำ แล้วฟักเป็นตัว • miracidium ไชเข้าหอย ( 1st I.H. ) • - cercaria เข้าไป form cyst ใน กุ้งน้ำตก • และ ปูน้ำจืด ( 2nd I.H. )

  11. - ภายในโฮสต์ metacercaria จะ excyst ที่ • duodenum แล้วไชเข้า • peritoneal cavity • Diaphragm • ปอด • (encapsulate ภายในปอด )

  12. (Radomyos et al., 1997)

  13. ตัวอ่อนระยะ cercaria (Radomyos et al., 1997)

  14. ปูขน(Radomyos et al., 1997)

  15. ระยะ metacercaria ของ P. westermani (Radomyos et al., 1997)

  16. ระยะ metacercaria ของ P. heterotremus (Radomyos et al., 1997)

  17. พยาธิสภาพ (Pathology) • - เกิด โรค : Paragonimiasis • หรือ : Pulmonary distomiasis • : Endemic hemoptysis • ปอดอักเสบ • เกิด Leukocyte infiltration บริเวณที่มีพยาธิเกิด Extrapulmonary paragonimiasis

  18. ปอดของสุนัข พบ Paragonimus (Sun,1988)

  19. อาการ (Sign and Symtom) - เกิดอาการ 2 – 20 วัน หลังจากกิน cyst เข้าไป - มีอาการไอแห้งๆ เจ็บหน้าอก - เสมหะ มีเลือดปน (สีสนิมเหล็ก) - รายที่ขึ้นสมองจะมีอาการชัก ปวดศีรษะ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ

  20. การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) • - ตรวจไข่พยาธิจาหก อุจจาระ (stool) และ • เสมหะ (Sputum) • การรักษา (Treatment) • - ใช้ยา Praziquantel

  21. การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) • 1. ให้ความรู้กับประชาชน • ไม่รับประทาน กุ้งและปู ดิบๆ • 2. จัดการสุขาภิบาลให้ถูกต้อง • 3. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง • 4. ให้ยารักษา

  22. เอกสารอ้างอิง นิมิตร มรกต 2539 ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ โปรโตซัวและ หนอนพยาธิ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน้า 276-285 วิฑูรย์ ไวยนันท์ และพีรพรรณ ตันอารีย์ 2535 ปริสิตวิทยาทาง การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ หน้า 154-159 Ash,L.R. and Orihel, T.C. 1984. Atlas of Human Parasitology. 2nd editionAmerican Society of Clinical Parthologisis Press, Chicago. 212 pages

  23. Beaver, P.C.; Jung, R.C. and Cupp, E.W. 1984. Clinical Parasitology. Lea & Febiger, Philadelphia. 406-412. Stewart C. Schell. 1970. How to know the trematodes. WM.C. Brown Company Publishers. U.S.A. 355 pages. Vafrasthira,S. 1985. Paragonimiasis.In: The 25th anniversary of the Tropical Medicine, Mahidol University, 98 – 104.

More Related