730 likes | 1.69k Views
ALUMINUM ALLOYS. Aluminum จัดเป็นโลหะที่มีการใช้งานมากเป็นอันดับที่สองรองจากเหล็ก Classification and Temper designations of aluminum alloys Wrought aluminum and Wrought aluminum alloys Cast aluminum alloys. Introduction to Aluminum alloys.
E N D
ALUMINUM ALLOYS • Aluminumจัดเป็นโลหะที่มีการใช้งานมากเป็นอันดับที่สองรองจากเหล็ก • Classification and Temper designations of aluminum alloys • Wrought aluminum and Wrought aluminum alloys • Cast aluminum alloys
Introduction to Aluminum alloys • การเลือก Alเพื่อนำไปใช้งานจะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมกับงานที่จะนำไปใช้ โดย ควรคำนึงถึง • รูปร่างลักษณะ และ สมบัติ • กรรมวิธีการหล่อ • การปรับปรุงสมบัติโดยวิธีทางความร้อน • ความคงทนต่อสภาพแวดล้อมในการใช้งานทางวิศวกรรม
การแยกประเภทตามมาตรฐาน ANSI • American Aluminum Association Casting Alloysได้กำหนดมาตรฐานและแยกประเภทของอลูมีเนียมผสม-กรรมวิธีการผลิต-การปรับปรุงคุณภาพเฉพาะแต่ละเกรด โดยได้จดทะเบียนไว้กับสำนักงานมาตรฐานแห่งชาติของ U.S.A. (American National Standard Institute)หรือ ANSI ในปี 1990 (ANSI H35-1-1990) • ได้แบ่ง Al ไว้เป็น 2 ประเภท คือ
การแบ่งประเภทของ Al-Alloys ตามมาตรฐาน ANSI • แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • Wrought Aluminum :ได้แก่ อลูมิเนียมประเภทรีดขึ้นรูปต่างๆที่ใช้ในงานทางเครื่องกล ทั้งที่ใช้งานใสสภาพอุณหภูมิปกติ และอุณหภูมิสูงระดับต่างๆ (Elevated Temperature) • Cast Alloys : อลูมิเนียมผสมที่ใช้สำหรับผลิตภัณฑ์งานหล่อหลอม อยุ่ในรูปของ อินกอต หรือแท่งเกรดต่างๆ
Pure Aluminum Commercial Pure Aluminum • โดย ปกติแล้ว ในทางการค้า Al จะมีอยู่ไม่ถึง 100 % แต่จะมีไม่ต่ำกว่า 99.00 % ที่เหลืออีก 1 % จะเป็นพวกธาตุที่ผสมอยู่ใน Al เรียกว่า Impurities elements ซึ่งได้แก่ Copper, Iron, Silicon และ Magnesium เป็นต้น
DESIGNATION OF ALUMINUM CASTING ALLOYS A 0 0 0 . – A 0 0 0 Temper Sup-designation Temper designation Hyphen delimeter Decimal point delimeter Alloy designation Alloy group Modification Prefix
Chemical composition and applications of commercially pure aluminum alloys
ตารางคุณสมบัติทางกลและการใช้งานในเชิงพาณิชย์ตารางคุณสมบัติทางกลและการใช้งานในเชิงพาณิชย์
การหล่อโลหะตระกูลอลูมินั่ม(Aluminum casting) คุณสมบัติด้านการหลอมหล่ออลูมินั่ม • มีน้ำหนักจำเพาะ 2.7 • จุดหลอมเหลวของ Al บริสุทธิ์ 660 ํ • ปริมาตรหดตัวขณะเปลี่ยนแปลงสถานะ 6 % • ความต้องการปริมาณความร้อนในการหลอม 169 Btu/lb. • ทำปฏิกิริยากับ ออกซิเจน ทำให้เกิดออกไซด์ได้ง่าย • ในระหว่างการแข็งตัว ฉีกร้าวได้ง่าย
เตาหลอมโลหะอลูมินั่มที่นิยมใช้เตาหลอมโลหะอลูมินั่มที่นิยมใช้ • Pot or Crucibleสำหรับหลอมในปริมาณไม่มาก • Reverberatoryสำหรับหลอมปริมาณที่มาก • Induction,Resistance สำหรับงานที่ต้องการคุณภาพสูง
เตาหลอมอลูมินั่มชนิดเตาเบ้าเตาหลอมอลูมินั่มชนิดเตาเบ้า
ปัญหาในการหลอมอลูมินั่มและการแก้ไขปัญหาในการหลอมอลูมินั่มและการแก้ไข • การเกิดออไซด์(Oxide) - อลูมินั่มจะเกิดออกไซด์ได้ง่าย หากสัมผัสกับความชื้น ดังสมการ 2Al+3H2O = Al2O3 + 6H สาเหตุของการเกิดออกไซด์สูง คือ 1.จากโลหะที่มีออกไซด์อยู่แล้ว 2.เกิดจากการสั่นสะเทือน หรือการก่อกวนโลหะเหลวขณะหลอม 3.เกิดการอลวน(Turbulent)ขณะขนถ่าย และ เทหล่อ 4.เศษโลหะมีธาตุ Mg เจืออยู่ในปริมาณมาก 5.บรรยากาศของเตาหลอมมีความชื้นสูง 6.หลอมที่อุณหภูมสูงมากเกินไป
สรุป สาเหตุของการเกิด Al2O3ได้ง่ายคือ • เกิดจากขบวนการหลอมหล่อและการควบคุมไม่ดี • คุณภาพโพรงแบบต่ำ • ระบบรูเทออกแบบไม่เหมาะสม
การดูดกลืนแก๊ส (Gas absorption) • การดูดกลืนแก๊ส (Gas absorption) • อะตอมของแก๊สสามารถละลายเป็นเนื้อเดียวกันได้กับโลหะ(solution)ในบรรยากาศภายในเตาหลอมโลหะประเภทเปลวไฟสัมผัสกับโลหะ จะมีอะตอมของแก๊สต่างๆเช่น • ไฮโดรเจน - สามารถละลายเป็นเนื้อเดียวกับโลหะได้ • ไนโตรเจน – เกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นสารประกอบ AlN • CO,CO2 – ไม่ทำปฏิกิริยาเคมี และไม่ละลายในโลหะ(หนีออกมาได้ก่อนที่โลหะจะแข็งตัว) • C-H – ไม่ทำปฏิกิริยาเคมี และไม่ละลายในโลหะ
การดูดกลืนแก๊ส(ต่อ) • จะพบว่ามีเพียงไฮโดรเจนเทานั้นที่ละลายเข้ากันได้กับเนื้อโลหะ อะตอมของแก๊สอื่น ถ้าไม่รวมตัวกันทางเคมีเป็นสารประกอบเสียก่อน ก็จะหลุดหนีออกจากโลหะไป • ถ้าทำปฏิกิริยาทางเคมีจะกลายเป็นของแข็ง อาจจะแทรกหรือลอยตัวขึ้นผิวบน ถ้ามีน้ำหนักเบา กลายเป็นขี้ตะกรัน (slag) หรือกาก(dross) เมื่อใช้สารเคมีสำหรับจับกากแล้วสามารถกวาดทิ้ง ทำให้น้ำโลหะสะอาดขึ้น
ปริมาณของแก๊สไฮโดรเจนที่ละลายได้ในโลหะชนิดต่างๆที่ความดัน 1 atm. ของแก๊ส (cc/100g)
อะตอมของไฮโดรเจน(H)จะสามารถละลายอยู่กับโมเลกุลของโลหะได้เพียงใดขึ้นกับอะตอมของไฮโดรเจน(H)จะสามารถละลายอยู่กับโมเลกุลของโลหะได้เพียงใดขึ้นกับ • Temperature • Partial Pressure of gas (ความดันจำเพาะของแก๊ส) • Alloying Element • อะตอมของไฮโดรเจนส่วนมากจะมากับความชื้น และ ความชื้นก็มาจากแหล่งต่างๆ เช่น • บรรยากาศ • ไอน้ำจากการเผาไหม้ • วัสดุทนไฟ(เตา,เบ้าหลอม,โพรงแบบ) • เครื่องมือและอุปกรณ์ • เศษโลหะและเชื้อหลอม
ปริมาณของแก๊สไฮโดรเจนในโลหะ Alบริสุทธิ์
สรุป • ที่อุณหภูมิต่ำ โลหะจะละลายแก๊สเข้าไปน้อยแต่จะสามารถละลายได้มากขึ้นเมื่ออยู่ในสภาวะของเหลว • ถ้าอุณหภูมิของโลหะลดลงในสภาวะสมดุลแล้วอะตอมของไฮโดรเจน จะสามารถหนีออกมาจากโลหะเหลวได้
การทำความสะอาดโลหะเหลวการทำความสะอาดโลหะเหลว • สิ่งมลทินต่างๆที่แทรกอยู่ในโลหะเหลว เช่น ออกไซด์, แก๊ส, ธาตุมลทิน ที่ไม่ใช่โลหะ สามารถขจัดออกจากโลหะอลูมินั่มเหลวได้ โดยใช้สารเคมี หรือ เชื้อหลอม(Fluxes) ได้แก่ • เชื้อหลอมสำหรับคลุมผิว (Covering fluxes) • เชื้อหลอมขจัดออกไซด์(Drossing fluxes) • เชื้อหลอมขจัดแก๊ส(Degassing fluxes) • เชื้อหลอมขจัดมลทิน(Impurities remove fluxes) • เชื้อหลอมปรับแต่งเกรน(Grain refining fluxes)
เชื้อหลอมคลุมผิว(Covering fluxer) • มีหน้าที่ปกคลุมผิวเพื่อป้องกัน O2 และ H ทำปฏิกิริยาและแทรกเข้าไปในโลหะเหลว • เชื้อหลอมคุมผิวที่ใช้สำหรับ Al มีอยู่ 3 ชนิด คือ NaCl, KCl, NaF และยังใช้ได้ดีกับทุกโลหะผสม ยกเว้นบางชนิด เช่น Al-Mg • เชื้อหลอมคลุมผิวจะกลายเป็นขี้ตะกรันเหลว จึงยากต่อการตักออก ก่อนการเทหล่อ ควรใช้สาร ซัลเฟสต์ หรือ ไนเตรส บำบัดขี้ตะกรันเหลวให้แห้งเป็นผง เพื่อสะดวกต่อการตักกวาดทิ้ง • ถ้าขี้ตะกรันเหลวไหลเข้าไปในโพรงแบบจะทำให้เจือปนเข้าไปในเนื้อชิ้นงาน เป็นจุดเสียในชิ้นงานอย่างหนึ่ง
เชื้อหลอมขจัดออกไซด์(Drossing fluxers) • ในการหลอมอลูมินั่มจะมีออกไซด์เกิดขึ้น ถ้ามีน้ำหนักเบาจะลอยขึ้นไปอยู่เหนือผิวโลหะเหลว เรียกว่า กาก หรือ Dross ถ้ามีน้ำหนักมากจะจมอยู่ใต้โลหะเหลว เรียกว่า ขี้โล้(sludge) อลูมินั่มออกไซด์ (Al2O3) • เป็นสารประกอบแน่นทึบมีสภาวะคงที่มาก มีจุดหลอมเหลว 2050 ° C มีน้ำหนักจำเพาะ 3.9 มากกว่าโลหะเหลว 2.7 แต่มันจะไม่แยกตัวออกจากโลหะเหลวได้ง่าย เนื่องจากมีแรงตรึงผิวสูงต่อโลหะเหลว • ดังนั้นจึงเกิดคุณสมบัติในการเกาะกันแน่น และสิ่งหนึ่งคือ Al2O3 จะมีฟองแก๊สละลายอยู่ จึ่งทำให้ความหนาแน่นต่ำลง
การขจัด Al2O3 • ส่วนมากจะใช้ ฟลูออไรด์ หรือ คลอไรด์ ซึ่งเกิด electrolytic กับอลูมินั่มได้ดี เชื้อหลอมจะห่อหุ้มอนุภาค Al2O3 แยกออกจากโลหะเหลวและหลังจากนั้นจะใช้วิธีทางกลโดยการสั่นสะเทือน โดยการควบคุมที่เตาหลอม หรือทำให้เกิดการกวน หมุนวน เพื่อให้ Al2O3ลอยขึ้นไปรวมกับขี้ตะกรัน กายเป็นกากต่อไป
การขจัดแก๊สไฮโดรเจน(H) • การขจัดแก๊สมีหลายวิธีด้วยกัน คือ • ลดอุณหภูมิของโลหะเหลวลงก่อน (Pre-solidification) • ให้โลหะอยู่ในบรรยากาศไอน้ำต่ำ (H2O-vapour free atm.) • บำบัดด้วยฟองแก๊ส (Treatrment with Gas) N, He,Ar • บำบัดด้วยสารคลอไรด์ (Treatment with chlorides) • การหลอมด้วยเตาระบบสุญญากาศ (Treatment in vaccuum) • ใช้เสียงคลื่นความถี่สูง (Ultrasonic) • ทำให้เป็นสารประกอบไฮไดร์ (Forming Hydrides)
H H H ฟองอากาศ H H แก๊ส H H H H H H เบ้าหลอม H H เกาะรอบๆ ที่ฟองอากาศ โลหะเหลว
การหลอมโลหะอลูมินั่มด้วยเตาเบ้าการหลอมโลหะอลูมินั่มด้วยเตาเบ้า ขั้นตอนและวิธีการหล่อ 1.อุ่นเตาและเบ้าหลอมให้แห้ง โดยใช้อุณหภูมิต่ำ ประมาณ 5-10 นาที • ไล่ความชื้น • ป้องกันการแตกร้าวของเตา • ยืดอายุการใช้งานของเตาและเบ้าหลอม 2.บรรจุโลหะชุดแรกเกือบเต็มเบ้าหลอม • คัดเลือกขนาด • ตรวจสอบส่วนผสมทางเคมี
ขั้นตอนและวิธีการหล่อ(ต่อ)ขั้นตอนและวิธีการหล่อ(ต่อ) 3.ใส่เชื้อหลอมคลุมผิว • เมื่อโลหะชุดแรกยุบตัว เกือบเหลว 4.บรรจุเศษโลหะที่เหลือจนหมด • หลังจากที่ในเบ้าหลอมมีโลหะเหลวอยู่แล้วควรจะอุ่นเศษโลหะที่จะบรรจุเสียก่อน เพื่อไล่ความชื้น ช่วยประหยัดเชื้อเพลิงและไม่ทำให้อุณหภูมิของของเหลวลดต่ำลงมาก 5.วัดอุณหภูมิและเติมเชื้อหลอมขจัดแก๊สและออกไซด์ • ควรรักษาระดับอุณหภูมิไว้ที่ระดับ 760 ° C แล้วจึงเติมเชื้อหลอมเพื่อบำบัด
ขั้นตอนและวิธีการหล่อ(ต่อ)ขั้นตอนและวิธีการหล่อ(ต่อ) 6.ตักกากโลหะออก และโรยเชื้อคลุมผิวใหม่ • อาจะปล่อยให้กากโลหะทำปฏิกิริยาให้หมดเสียก่อน 7.ตรวจสอบอุณหภูมิเทเพื่อความถูกต้อง • ก่อนนำไปเทลงในแบบหล่อ • และแบบหล่อต้องผ่านการเผาไล่ความชื้นเสียก่อน
โครงสร้างจุลภาคของ Al alloy 3003(1.2%Mn) annealed sheet (Al-Fe-Mn-Si) Fin dispersion of (Mn,Fe)Al6
โครงสร้างจุลภาคของ Al alloy 3003(1.2%Mn)preheated at 543 C cold-rolled 80%,annealed at 343 C for 250 s. Mn precipitated on dislocation
Al-Mn-Al3003 cooling rate of 1.2°C/s. B C A ปล่อยให้แข็งตัวในเวลาต่างกันก่อนนำไปชุบชุบ ถ่ายที่กำลังขยาย 55 เท่า
Al3003 showing Al6(FeMn)and Al15(FeMn)3Si2 Cooling rate:0.5 C/s กำลังขยาย 550 เท่า B C A
จากแผนภูมิสมดุล Cu สามารถละลายได้ใน Al 5.65% ที่ 548 °C แต่ที่อุณหภูมิห้องละลายได้ เพียง 0.5% เท่านั้นเป็นเฟสของ k ทองแดง 5.65% ที่ละลายที่อุณหภูมิสูง เมื่ออุณหภูมิลดลง จะแยกตัวออก เป็น θมีสูตรเคมี Al2Cu และ ส่วนผสมโดยประมาณ Al : Cu = 46.5 : 53.5 wt% หากเพิ่ม Cu ใน Al มาก ก็จะยิ่งทำให้ ได้ θ,มีผลทำให้แข็งและเปราะ โดยทั่วไปจะมีอยู่ประมาณ 2-5% โลหะผสม Al+Cu
การปรับปรุงคุณสมบัติของ Al+Cu • สามารถทำได้โดยกรรมวิธีทางความร้อน ดังนี้ คือ • เผาชิ้นงานให้ได้ เฟส k ทั้งหมด เรียกว่าการทำ solution หรือ solid solution • ชุบให้เย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว ไม่ให้ θแยกตัวออกมาได้ทัน หรือเรียกว่า supersatureted solid solution • การอบบ่ม หรือการทำ Aging หรือ percipitated hardening
สรุป : คุณสมบัติของโลหะผสม อลูมินั่ม กับธาตุเจือทองแดง ข้อดี • ธาตุเจือทองแดง ช่วยเพิ่มความแข็งแรงเชิงกลให้สูงขึ้น • สามารถปรับปรุงคุณสมบัติด้วยกรรมวิธีทางความร้อน • สามารถตัดแต่งด้วยเครื่องจักรกลได้ง่าย ข้อด้อย • การผสมธาตุเจือทำให้เทหล่อได้ยาก เนื่องจาก ทำให้การไหลตัวต่ำ,ชิ้นงานแตกร้าวขณะร้อนได้ง่าย • ธาตุเจือทองแดงทำให้เกิดการกัดกร่อนได้ง่าย
ALUMINUM-MAGNESIUM ALLOYS Alloy 5086-H43 Alloy 5456 Network of Mg2Al3 Mg2Si Al6(Fe,Mn) A B