500 likes | 709 Views
พฤติกรรมทำลายสุขภาพ ( เหล้า, บุหรี่ และ แนวทางลดอุบัติเหตุ ) ประกิต วาทรสาธกกิจ อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น ประชุมวิชาการ ครั้งที่ 21 ประจำปี 2548 เรื่อง “ HEALTHY THAILAND : เมืองไทยแข็งแรง”
E N D
พฤติกรรมทำลายสุขภาพ( เหล้า, บุหรี่ และ แนวทางลดอุบัติเหตุ )ประกิต วาทรสาธกกิจ อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น ประชุมวิชาการ ครั้งที่ 21 ประจำปี 2548 เรื่อง “HEALTHY THAILAND : เมืองไทยแข็งแรง” (COMMON PROBLEMS IN I-SAN AND UPDATE MANAGEMENT) วันอังคาร ที่ 11 ตุลาคม 2548 ณ ห้องบรรยาย 3 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สถานการณ์การบริโภคผลกระทบ และการควบคุมการบริโภคสุราในประเทศไทย
สถานการณ์ การบริโภคแอลกอฮอล์ ของสังคมไทย
สถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทยสถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทย • ปรับเป็นปริมาณแอลกอฮอลล์บริสุทธิ์โดยประมาณ เบียร์ ไวน์ และสุรากลั่นมี แอลกอฮอลล์บริสุทธิ์เท่ากับ 4.5%, 14% และ 42% ตามลำดับ • จากฐานข้อมูล WHO-alcohol consumption database
อันดับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทยอันดับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทย
ปริมาณจำหน่ายสุราในประเทศปริมาณจำหน่ายสุราในประเทศ
ดื่มเพิ่ม 3 เท่า ภายใน 14 ปี สถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทย คนไทยดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้น 3 เท่า ภายใน 14 ปี จาก 20.2 ลิตร เป็น 58.0 ลิตร / คน / ปี *ข้อมูลแอลกอฮอล์ทุกประเภทจากกรมสรรพสามิต
ศึกษาบูรณาการ ร้อยละของประชากรอายุ 12-65 ปีที่ดื่มแอลกอฮอล์ ในระดับพื้นที่ สุรา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มา : ประมาณการผู้ดื่มแอลกอฮอล์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2546
ศึกษาบูรณาการ แนวโน้มการเริ่มใช้เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ในระดับพื้นที่ สุรา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มา : ประมาณการผู้ดื่มแอลกอฮอล์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2546
สถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทยสถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทย กลุ่มผู้บริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใหญ่ที่สุด ได้แก่ กลุ่มผู้ชาย อายุ 25-44 ปี จำนวน 7.84 ล้านคน
สถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทยสถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทย สถานการณ์ปัญหาในกลุ่มเยาวชน • เยาวชนอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 46.9 เริ่มลองดื่มสุราแล้ว • เยาวชนดื่มเป็นอันดับที่ 2 รองจากวัยทำงาน • ร้อยละ 76.4 ของผู้ดื่มสุรา เริ่มดื่มก่อนอายุ 24 ปี • วัยรุ่นหญิงดื่มเพิ่มขึ้น 6 เท่า ใน 7 ปี (2539 - 2546) • อายุของการเริ่มดื่มลดต่ำลงอย่างต่อเนื่อง
ผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ลักษณะการดื่ม ปริมาณการดื่ม การเมาสุรา การติดสุรา พิษจากแอลกอฮอล์ ปัญหาสังคม ปัญหาสังคม โรคเรื้อรัง อุบัติเหตุ / บาดเจ็บ ระยะสั้น ระยะยาว ความสัมพันธ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลต่อผู้บริโภคโดยตรงและผลกระทบที่เกิดขึ้น Babor T, Caetano R, Casswell S, et al. 2003
อุบัติเหตุที่มาจากสาเหตุการดื่มแอลกอฮอล์อุบัติเหตุที่มาจากสาเหตุการดื่มแอลกอฮอล์ สถานการณ์ปี 2546 มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ 12,860 คน มีผู้บาดเจ็บ 68,326 คน สูญเสียทางเศรษฐกิจกว่า 120,000 ล้านบาท** 48% ของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ มีสาเหตุจากการเมา* * ข้อมูลสถิติระบาดวิทยาปี 2546 ** ข้อมูลปี 2547
สถานการณ์ปี 2547 ร้อยละ 72.7 ของผู้บาดเจ็บรุนแรงจำนวน 1,405 คนจากพาหนะทุกประเภทดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ก่อนเกิดเหตุ • โดยร้อยละ 44.2 ของผู้บาดเจ็บรุนแรงมีอายุต่ำกว่า 18 ปีและดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ก่อนเกิดเหตุ อุบัติเหตุที่มาจากสาเหตุการดื่มแอลกอฮอล์
การดื่มสุราแล้วขับรถ เพิ่มความเสี่ยงต่อ: การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร 6.6 เท่า การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร 9.6 เท่า ถ้าลดจำนวนผู้ขับขี่เจือสุราลงครึ่งหนึ่ง จะป้องกันการเสียชีวิตได้ปีละ 2,922 คน ป้องกันการบาดเจ็บได้ปีละ 29,625 คน คิดเป็นผลได้ทางเศรษฐกิจ 13,976 ล้านบาท *ข้อมูลจาก “เส้นทางอุบัติ… แห่งอุบัติเหตุ”
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละของแม่บ้านถูกกระทำรุนแรง ปัญหาสังคมที่ตามมา * ผลวิจัยเอแบคโพลล์: ผลสำรวจความรุนแรงในครอบครัว ก.ค.ปี 2547
โทษและผลเสียจากการดื่มสุราโทษและผลเสียจากการดื่มสุรา
ทำไมคนไทย ถึงบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นทุกปี ?
การซื้อสุราเป็นเรื่องที่สะดวกมาก*การซื้อสุราเป็นเรื่องที่สะดวกมาก* ร้านอยู่ใกล้บ้าน เฉลี่ยผู้ซื้อใช้เวลาเพียง 7.5 นาที การเดินทางไปดื่มสุราที่ร้านอาหารหรือร้านจำหน่ายสุรา ใช้เวลาเฉลี่ย 18.4 นาที ถ้าเวลาไปซื้อกลับมาดื่มที่บ้านเพิ่ม 10 นาที จะลดการดื่มลง 0.3 ครั้ง/เดือน (จาก 7 ครั้ง/เดือน) กรมสรรพสามิตอำนวยความสะดวกให้กับผู้ผลิตและผู้ขายปลีกด้วยบริการแบบ One Stop Service รายได้-ราคาสุรา การโฆษณา ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มอุปสงค์ *นิพนธ์ พัวพงศกร (2548)
พลัง ปัญญา พลัง ปัญญา พลัง นโยบาย พลัง นโยบาย สสส. สสส. พลัง สังคม พลัง สังคม ยุทธศาสตร์ - ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา - โครงการวิจัยต่างๆ - คณะกรรมการควบคุมการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ (คบอช.) - ศูนย์เฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย - กระบวนการนโยบายสาธารณะ เครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคีรณรงค์ต่างๆ สื่อสารมวลชน
สถานการณ์การควบคุมแอลกอฮอล์ในไทยสถานการณ์การควบคุมแอลกอฮอล์ในไทย • ก่อน 2546 มีเพียงองค์กรเอกชนไม่กี่แห่งรณรงค์ลดเหล้าและเมาไม่ขับ • 2546 สสส. และภาคีเริ่มการประมวลองค์ความรู้ และก่อขบวนเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ผลักดัน มติ ครม. จำกัดเวลาโฆษณา และตั้งคณะกรรมการควบคุมการบริโภคแอลกอฮอล์แห่งชาติ (คบอช), การรณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา • 2547 เกิดกลไกการทำงานด้านต่างๆ เช่น สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา เกิดโครงการรณรงค์ในเทศกาล และในกลุ่มเฉพาะต่างๆ ฯ
สถานการณ์ในประเทศไทย • 2548 ศูนย์เฝ้าระวังการบังคับใช้กฎหมายฯ การผลักดันนโยบายรับน้องปลอดเหล้า วัดปลอดเหล้า การประชุมวิชาการสุราแห่งชาติฯ • อัตราเพิ่มของการดื่มสุราลดลง ภาษีสรรพสามิตเก็บได้ต่ำกว่าเป้า • ยังต้องการการพัฒนาต่อในทุกๆด้าน • ยังขาดการเชื่อมประสานกับเครือข่ายสากล
เป้าหมายผลสัมฤทธิ์การป้องกันแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป้าหมายผลสัมฤทธิ์การป้องกันแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หลักการป้องกันแก้ไข ป้องกันการบริโภค ป้องกันอันตราย ลดอันตราย ลดอันตราย ไม่ดื่ม ดื่มพอควร ต่อผู้บริโภค ต่อผู้อื่น ไม่ดื่มเลย ดื่มตามมรรยาท ลดปริมาณบริโภค ยุติพฤติกรรม รุนแรงในครอบครัว ใส่หมวก/ ลองดื่มแล้วเลิก ยุติดื่มก่อนมึน ยุติพฤติกรรม เข็มขัดนิรภัย รุนแรงในสังคม เคยดื่มแล้วเลิก ดื่มเท่าที่จำเป็น เมาไม่ขับ เมาไม่ขับ ตามประเพณี รักษาโรคที่เกี่ยวกับ การบริโภคเครื่องดื่มฯ
ยุทธศาสตร์การป้องกันแก้ไขอุปทานเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยุทธศาสตร์การป้องกันแก้ไขอุปทานเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมผลิตเครื่องดื่มฯ ระบบผลิต และการตลาด เวลาจำหน่าย จุดจำหน่าย รัฐ - เอกชน การบรรจุ ราคา มาตรการ มาตรการ ชุมชน / เพิ่มความแพร่หลาย กฏหมาย สังคม ความสะดวก ค่านิยม ความรู้ วัฒนธรรม โอกาส สังคม ซื้อ มาตรการ มาตรการ สารสนเทศ / ชุมชน / เพิ่มการบริโภค การศึกษา สังคม
การควบคุมการเข้าถึงและการหาซื้อ (Regulating the Physical Availability) • การกำหนดอายุขั้นต่ำที่สามารถซื้อได้ +++ • การผูกขาดการขายปลีกโดยรัฐ +++ • การจำกัดชั่วโมงและเวลาการขาย ++ • การจำกัดความหนาแน่นของร้านจำหน่าย ++ • ความรับผิดชอบทางกฎหมายของผู้ให้บริการ +++
ประมวลนโยบายและมาตรการทางกฎหมายในประเทศไทยประมวลนโยบายและมาตรการทางกฎหมายในประเทศไทย
นโยบาย หรือ มาตรการ นโยบาย หรือ มาตรการในประเทศไทย การควบคุมการเข้าถึง และการหาซื้อ -ขายได้เฉพาะเวลา 11-14 น. และ 17-24 น. -ห้ามจำหน่ายอายุต่ำกว่า 18 ปี, ห้ามไม่ให้เด็กเสพสุราหรือบุหรี่ ห้ามเข้าสถานที่ขายฯ -ห้ามจำหน่ายในสถานศึกษา และศาสนสถาน ภาษีและการกำหนดราคา -เป็นไปเพื่อหารายได้เข้ารัฐ ยังไม่ได้เป็นเพื่อลดการบริโภค การปรับเปลี่ยนบริบทการดื่ม -ห้ามจำหน่ายสุราแก่ผู้เมามายหรือยอมให้ผู้เมามายอยู่ในสถานบริการ การควบคุมการส่งเสริมการขาย -ห้ามการโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์และป้ายกลางแจ้งต้องมีคำเตือน และห้ามอยู่ใกล้สถานศึกษาทุกระดับในรัศมี 500 เมตร -ห้ามโฆษณาทาง TV/วิทยุ เวลา 05-22 น. หลังจากนั้นโฆษณาได้เฉพาะภาพลักษณ์เท่านั้น มาตรการควบคุมผู้ดื่มแล้วขับ -ห้ามขับขี่ขณะเมาสุรา (จำคุก < 3 เดือน, ปรับ 2,000-10,000บาท) -ประพฤติวุ่นวายหรือครองสติไม่ได้ในถนนหรือสาธารณสถาน ปรับ < 500 บาท -มาตรการสุ่มตรวจระดับแอลกอฮอล์ของผู้ขับขี่ยานพาหนะ การให้การศึกษาและการรณรงค์โน้มน้าว -ต้องติดฉลากคำเตือน (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข, 2546) -วันเครอบครัวแข็งแรงทุกวันอาทิตย์ (มติ ค.ร.ม. 27ก.ค.2547) -รณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา, รณรงค์เมาไม่ขับ
การสูญเสียจากการบริโภคการสูญเสียจากการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาจจะมีมากกว่าที่ท่านคิด
ชะตากรรม ของผู้ที่รับผล จากผู้เมาสุรา
เธอและพ่อของเธอ ในปี คศ.1998.
เธอขณะที่ไปพักผ่อนที่ Venezuela.
เธอ ขณะที่สนุกสนาน สดใส ร่าเริง อยู่กับเพื่อนๆ
สภาพรถของเธอที่เป็นผลจากการถูกชนโดยนักศึกษาชายผู้หนึ่งที่เมาสุรา ในเดือนธันวาคม ปี1999.
หลังเกิดเหตุ เธอต้องได้รับการผ่าตัดมากกว่า 40 ครั้ง
เนื่องจากหนังตาข้างซ้ายถูกเผาไหม้ไปหมดJacqieจำเป็นต้องใช้ยาหยอดตาเพื่อรักษาดวงตาเนื่องจากหนังตาข้างซ้ายถูกเผาไหม้ไปหมดJacqieจำเป็นต้องใช้ยาหยอดตาเพื่อรักษาดวงตา
“น้ำตาลูกผู้ชาย” ผู้ซึ่งขับรถชนรถของเธอ ซึ่งเขายอมรับอย่างลูกผู้ชายว่า เขาจะไม่ให้อภัยตัวเองเลยที่ได้ทำลายชีวิตอันสดใสทั้งชีวิตของเธอ ด้วยการเมาสุราแล้วขับรถเมื่อ 3 ปีก่อน
“ไม่ใช่ทุกคนที่ถูกรถชนแล้วเสียชีวิต”รูปนี้ถ่ายหลังเกิดเหตุ 4 ปี