410 likes | 526 Views
สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ Right to Know. กลไกตรวจสอบภาคประชาชน เพื่อความโปร่งใสภาครัฐ. กฎหมายข้อมูลข่าวสารและสิทธิส่วนบุคคล :. การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล. ข้อมูลข่าวสารของราชการ. ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540. การคุ้มครองสิทธิได้รู้. กระบวนการใช้ สิทธิของประชาชน.
E N D
สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการRight to Know กลไกตรวจสอบภาคประชาชน เพื่อความโปร่งใสภาครัฐ
กฎหมายข้อมูลข่าวสารและสิทธิส่วนบุคคล : การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 การคุ้มครองสิทธิได้รู้
กระบวนการใช้สิทธิของประชาชนกระบวนการใช้สิทธิของประชาชน • สิทธิได้รู้ • โดยหน่วยงานเปิดเผย • โดยเข้าตรวจดู • โดยยื่นคำขอ • สิทธิอุทธรณ์ • คำสั่งมิให้เปิดเผย • คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้านการเปิดเผย • คำสั่งไม่แก้ไขข้อมูลข่าวสรส่วนบุคคล • สิทธิร้องเรียน • กรณีไม่จัดหาข้อมูล • ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย • ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า หรือไม่อำนวยความสะดวก ฯลฯ
กระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชนกระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน สิทธิรับรู้ ตาม รธน. และพรบ.ข้อมูลฯ ศาลปกครอง - วินิจฉัย - ตามกรอบ กม. ยื่นคำขอ ฟ้องศาล การคุ้มครอง เยียวยาตาม กม. การพิจารณาของ จนท. ชั้นต้น กระบวนการเยียวยา - จัดหาให้ - เปิดเผย มิให้เปิดเผย - อุทธรณ์ - ร้องเรียน การปฏิเสธของ หน่วยงาน
ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 กระบวนการใช้ดุลยพินิจ
หลักคุ้มครองสิทธิ โครงสร้างกฎหมาย การแบ่งประเภท ข้อมูลข่าวสาร ในมิติต่างๆ อำนาจของ จนท. หลักการใช้ดุลพินิจ ประเภทข้อมูลข่าวสารของราชการ • ตามโครงสร้างกฎหมาย • - ข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยได้ • ข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยไม่ได้ • ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • ข้อมูลข่าวสารประวัติศาสตร์ ตามความหมายอย่างกว้าง-ข้อมูลที่เปิดเผยได้ทั่วไป - ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • ตามอำนาจปฏิเสธ • - ข้อมูลตามมาตรา ๑๔ • ข้อมูลตามมาตรา ๑๕ • ข้อมูลตามมาตรา ๑๖ • ข้อมูลตามมาตรา ๑๗ ตามหลักการใช้ดุลพินิจ - มาตรา ๑๕ (๑) - (๗)
การแบ่งประเภทข้อมูลข่าวสาร ตามมิติต่างๆ ความหมายกว้าง :หลักการคุ้มครองสิทธิรับรู้ หลักการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล โครงสร้างกฎหมาย :แบ่งได้ 4 ประเภท (กม. มี 7 หมวด ว่าด้วยข้อมูล 4 หมวด) อำนาจปฏิเสธ : มี 4 มาตรา( ม.14 , 15, 16, และ 17) หลักการใช้ดุลยพินิจ : มี 7 ลักษณะ / ประเภท ตาม ม.15
ประเภทข้อมูลข่าวสาร แบ่งตามโครงสร้าง กม. ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไป ไม่ต้องเปิดเผย 14 15 15 16 14 17 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล 25 เอกสารประวัติศาสตร์ 7 9 11 26
ประเภทข้อมูลข่าวสารที่มีอำนาจไม่ต้องเปิดเผยประเภทข้อมูลข่าวสารที่มีอำนาจไม่ต้องเปิดเผย หน่วยงานอาจมีคำสั่งไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร 14 15 16 17
ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลตาม ม.14 : ประเภทต้องห้ามเปิดเผย (ข้อมูลเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์) ข้อมูลตาม ม.15 : ประเภทต้องใช้ดุลยพินิจเปิด / ปิด ได้ (มี 7 ลักษณะ/รายการ) ข้อมูลตาม ม.16 : ประเภทที่มีการกำหนดชั้นความลับไว้ ข้อมูลตาม ม.17 : ประเภทที่เกี่ยวกับประโยชน์ได้เสียผู้อื่น ข้อมูลตาม ม.25 : ประเภทข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น
มาตรา 15 ข้อมูลที่ จนท. ต้องใช้ดุลยพินิจก่อน ตาม ม. 15 เป็นข้อมูลฯ ที่ต้องใช้ดุลยพินิจ ก่อนที่มีคำสั่ง..... 1. มีคำสั่งให้เปิดเผย ลับ 2. มีคำสั่งมิให้เปิดเผย
มาตรา 16 : ข้อมูลที่เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยความลับของทางราชการ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติว่าข้อมูลข่าวสารของราชการจะเปิดเผยต่อบุคคลใดได้หรือไม่ภายใต้เงื่อนไขเช่นใด และสมควรมีวิธีรักษามิให้รั่วไหลให้หน่วยงานของรัฐกำหนดวิธีการคุ้มครองข้อมูลข่าวสารนั้น ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนดว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
มาตรา16 หลักเกณฑ์สำหรับข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย 1.ต้องเข้าลักษณะข้อมูลข่าวสารอย่างหนึ่งอย่างใดใน 7 ประเภท 2. เป็นข้อมูลที่ผู้มีอำนาจได้กำหนดชั้นความลับไว้ 1. ต้องใช้ดุลพินิจตามหลักมาตรา 15 2. ก่อนการเปิดเผยเจ้าหน้าที่ต้องเสนอ ให้ผู้มีอำนาจปลด/ยกเลิกชั้นความลับ เสียก่อน เปิด มี 2 ขั้นตอนหลัก
มาตรา 17 : ข้อมูลที่มีกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้อื่น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคำคัดค้านภายในเวลาที่กำหนด ผู้ที่ทราบว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของตน มีสิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้โดยทำเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นมิได้จนกว่าจะล่วงพ้นกำหนดเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา 18 ……
มาตรา17 หลักเกณฑ์สำหรับข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย 1.ต้องเข้าลักษณะข้อมูลข่าวสารที่ ผู้อื่นมีประโยชน์ได้เสีย 2. ผู้มีประโยชน์ได้เสียได้ใช้สิทธิคัดค้านการเปิดเผย 1. เจ้าหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคำคัดค้าน ภายในเวลาที่กำหนด 2. เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาว่า เหตุผลที่คัดค้าน ฟังขึ้นหรือไม่ 3. แจ้งผลการพิจารณา และแจ้งสิทธิอุทธรณ์ เปิด ปิด
ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มี 2 องค์ประกอบ คือ 1. มีลักษณะ/ประเภทตามที่ กม. กำหนด 2. มีหลักเกณฑ์การใช้ดุลยพินิจ 3 ประการ หลักเกณฑ์ในการใช้ดุลยพินิจ
ข้อมูลที่ต้องใช้ดุลยพินิจ มี 7 ประเภท/ลักษณะ ดังนี้ • ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ • จะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ • ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐ • อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคล • รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • ข้อมูลที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย • ข้อมูลข่าวสารที่มีการกำหนดในพระราชกฤษฎีกาเพิ่มเติม
มาตรา15 หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ดุลยพินิจ 1.ต้องเข้าลักษณะข้อมูลข่าวสารอย่างหนึ่งอย่างใดใน 7 ประเภท 2. ต้องใช้ดุลยพินิจโดยคำนึงถึง หลักเกณฑ์ 3 ประการ ดังนี้ • การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย • ประโยชน์สาธารณะ • ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง เปิด ปิด 3. เจ้าหน้าที่สามารถกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้
กระบวนการใช้ดุลยพินิจกระบวนการใช้ดุลยพินิจ 1. หลักเกณฑ์สำคัญในการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ หลักเกณฑ์พื้นฐานในการพิจารณาออกคำสั่ง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ดุลยพินิจที่กฎหมายกำหนด ประเด็นสำคัญที่ต้องใช้ประกอบการพิจารณา หลักการสำคัญที่ใช้ควบคุมการใช้ดุลพินิจของ จนท. 20 20
คำสั่งมิให้เปิดเผยต้องกระทำโดยชอบด้วยกฎหมาย ข้อมูลข่าวสารที่จะปฏิเสธได้ต้องมีลักษณะตามที่ กม.กำหนด คำสั่งมิให้เปิดเผยต้องระบุไว้ด้วยว่า เป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด และ เพราะเหตุใด คำสั่งนั้นต้องมีการแจ้งรายละเอียดตามที่กฎหมายกำหนดไว้ด้วย สิทธิ และ ระยะเวลาอุทธรณ์ หลักเกณฑ์พื้นฐานในการพิจารณาออกคำสั่ง
B. หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ดุลยพินิจที่กฎหมายกำหนด • การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ • ประโยชน์สาธารณะ • ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง 22 22
C.ประเด็นสำคัญที่ต้องใช้ประกอบการพิจารณาC.ประเด็นสำคัญที่ต้องใช้ประกอบการพิจารณา • วิธีการเปิด – เปิดอย่างไร • เนื้อหาที่เปิด - เปิดแค่ไหน • เวลาที่เปิด – เปิดเมื่อใด 23 23
กระบวนการใช้ดุลยพินิจกระบวนการใช้ดุลยพินิจ 2. ขั้นตอนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ การดำเนินการตรวจสอบหลักเกณฑ์เบื้องต้น การพิจารณาหลักความชอบด้วยกฎหมาย การใช้ดุลยพินิจ วิเคราะห์ ชั่งน้ำหนัก ตัดสินใจ การออกคำสั่งปฏิเสธ 24 24
D.หลักการ :ที่ในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ 1. หลักความชอบด้วยกฎหมาย ประโยชน์สาธารณะ 2. หลักการปกครองที่โปร่งใส 3. หลักการปกครองที่ประชาชนมีส่วนร่วม 4. หลักการปกครองที่ประชาชนตรวจสอบได้ 5. หลักการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ
หลักการ :ที่ในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ 1. หลักการปกครองที่ผู้ใช้อำนาจมีความรับผิดชอบ การปฏิบัติหน้าที่ 2. หลักการอำนวยความยุติธรรมและการบริการที่ดี 3. หลักการคุ้มครองการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐ 4. หลักการคุ้มครองกระบวนการบังคับใช้กฎหมายให้ มีประสิทธิภาพ และประสบผลสำเร็จ 5. หลักการคุ้มครองความเป็นอิสระของเจ้าหน้าที่
หลักการ :ที่ในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ 1. หลักการปกครองที่ประชาชนได้รับความเป็นธรรม เอกชน 2. หลักการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ความเป็นอยู่ส่วนตัว 3. หลักคุ้มครองความปลอดภัยของบุคคล 4. หลักแห่งความได้สัดส่วน (หลักเหมาะสม + หลักจำเป็น + หลักความสมดุล) 5. หลักการคุ้มครองประโยชน์ได้เสียของบุคคล
ขั้นตอนการใช้ดุลพินิจขั้นตอนการใช้ดุลพินิจ 1. พิจารณาถึงผลดี ผลเสีย ผลกระทบ 2. ชั่งน้ำหนักผลดีกับผลเสีย ผลกระทบ 3. ตัดสินใจเปิดเผยหรือไม่เปิดเผย
กรณีที่ 1 อุทธรณ์คำสั่ง ไม่แก้ไขข้อมูลประวัติการรักษาพยาบาล ผู้ขอ ใช้สิทธิขอ ขอดู และขอแก้ไขประวัติการรักษาพยาบาลของตน ให้ตรงกับบันทึกประจำวัน หน่วยงานที่รับผิดชอบ :โรงพยาบาล - ไม่แก้รายละเอียดในประวัติผู้ป่วยเกี่ยวกับการบันทึกเหตุการณ์ว่า ใครเป็นคนขับรถ - และเป็นเอกสารที่มีการเปิดเผยให้กับบริษัทประกันไปแล้ว อาจเสียหายได้ • มิใช่เป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล แต่เป็นข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับสภาพการเกิดอุบัติเหตุ จนเป็นเหตุให้เจ็บป่วย • แม้จะเป็นข้อมูลที่อยู่ในประวัติผู้ป่วย แต่มิใช่ข้อมูลที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของแพทย์ ที่จะต้องดำเนินการจัดเก็บเป็นข้อมูลส่วนบุคคล
กรณีที่ 2 อุทธรณ์คำสั่ง ไม่เปิดเผยภาพถ่ายของผู้ป่วย ผู้ขอ ใช้สิทธิขอ ขอดูภาพถ่ายที่แพทย์ถ่ายรูปตนไว้เพื่อการรักษาพยาบาล และเป็นภาพที่อยู่ในสำนวนการสอบสวนของแพทยสภา หน่วยงานที่รับผิดชอบ :แพทยสภา • ไม่อนุญาตให้เปิดเผย เพราะอยู่ระหว่างการสอบสวน • กระทบต่อการสืบสวน และแพทย์ที่ทำการรักษาพยาบาล • และเป็นข้อมูลของแพทย์ผู้รักษา เป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของผู้ป่วย และเป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการรักษาผู้ป่วย ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อกระทบสิทธิผู้ป่วย จึงเป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผย
กรณีที่ 3 อุทธรณ์คำสั่ง ไม่เปิดเผยภาพของผู้ป่วย ผู้ขอ ใช้สิทธิขอ ขอดูผลการสอบแพทย์แผนโบราณของทุกคน คำถาม พร้อมธงคำตอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบ :กรม...... • ไม่อนุญาตให้เปิดเผย เพราะจะเสียหายต่อระบบการสอบ • กระทบต่อระบบคลังข้อสอบ • กระทบสิทธิของผู้สอบรายอื่น • มิใช่เป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของผู้สอบ - เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับระบบการสอบที่มีระบบหมุนเวียนข้อสอบจาก คลังข้อสอบ การเปิดเผยกระทบการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงาน • วินิจฉัยให้เปิดเผยเฉพาะของผู้ขอ เพื่อความโปร่งใส แต่ไม่ให้สำเนา
กรณีที่ 2 สค 7/2542 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยคำร้องที่ ขอให้ศาลฯ วินิจฉัยว่าขัดกับ รธน.หรือไม่ ผู้ขอ : ใช้สิทธิขอ คำร้องที่ ขอให้ศาลฯ วินิจฉัยว่า “ประกาศกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงสุดของ ธ.พาณิชย์ภายใต้ประกาศ ธ. แห่งประเทศไทย” ขัดกับ รธน. หรือไม่ หน่วยงานที่รับผิดชอบ :ศาลรัฐธรรมนูญ - เป็นข้อมูลข่าวสารที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลฯ - ไม่สามารถเปิดเผยได้ตามมาตรา 15 (2) เป็นข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองของศาลในส่วนที่เกี่ยวกับการพิจารณาคดี ไม่อยู่ในบังคับ พรบ. ข้อมูลฯ
กรณีที่ 3 สค 18/2542 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวนการสอบสวนกรณีทุจริตยาและเวชภัณฑ์ใน ก.สาธารณสุข ผู้ขอ : ประชาชน ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการสอบสวนกรณีทุจริตยาและเวชภัณฑ์ใน ก.สาธารณสุข สถานะข้อมูล : สำนวนการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้ว หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ปปป. • - เป็นข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี กม. ปปป. คุ้มครอง • จะทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อมประสิทธิภาพตามมาตรา 15 (2) • มิใช่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ • การทุจริตกระทบประโยชน์สาธารณะ การเปิดเผยจะเกิดทัศนคติที่ดีต่อระบบการบริหารราชการแผ่นดิน • สำนวนสอบสวนยุติแล้ว จนท ถูกสั่งลงโทษ ส่วนนักการเมืองถูกเสนอเรื่องไปยังพนักงานสอบสวนคดีอาญาแล้ว
กรณีที่ 4 สค 32/2542 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยหนังสือร้องเรียนอธิการบดี (ม.ภาคเหนือ) ผู้ขอ : ถูกร้องเรียนกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : หนังสือร้องเรียนกล่าวหาตน ว่ามีพฤติการณ์ทุจริตต่อหน้าที่ สถานะข้อมูล : สำนวนการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้ว สรุปว่าไม่มีมูล หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ปปป. • - เป็นข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี กม. ปปป. คุ้มครอง • จะทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อมประสิทธิภาพตามมาตรา 15 (2) • จะเกิดอันตรายกับผู้ชี้เบาะแส • เรื่องเป็นที่ยุติแล้ว ไม่มีประเด็น ตาม ม. 15 (2) • คำนึงประโยชน์สาธารณะ เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนตรวจสอบ • เรื่องยุติว่าไม่มีมูล เป็นความจำเป็นที่ผู้ถูกร้องเรียนนำไปใช้สิทธิ ป้องกันตนเอง
กรณีที่ 5 สค 2/2543 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวน ป.ป.ช. กรณีโครงการที่ราชพัสดุ ผู้ขอ : ถูกร้องเรียนกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการสอบสวน คำให้การพยานบุคคล และ พยานหลักฐาน สถานะข้อมูล : สำนวนการสอบสวนอยู่ระหว่างสอบสวน หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ป.ป.ช. • - เป็นข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี กม. คุ้มครองมิให้เปิดเผย • จะทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อมประสิทธิภาพตามมาตรา 15 (2) • จะเกิดอันตรายต่อชีวิต • การสอบสวนยังไม่แล้วเสร็จ อาจทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อม ประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้
กรณีที่ 6 สค 32/2542 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยเอกสารการเลือกตั้ง สว. ผู้ขอ : ประชาชน ใช้สิทธิขอ คำขอ : เอกสารการเลือกตั้ง สว. ขอนแก่น ได้แก่ แบบ สว 34 สว 35 สว 36 สถานะข้อมูล : การเลือกตั้งเสร็จสิ้นแล้ว แต่มีการร้องเรียน หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน กกต. จ.ขอนแก่น • - ผู้ขอไม่มีอำนาจหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร • จะทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อมประสิทธิภาพตามมาตรา 15 (2) • กระบวนการเลือกตั้งไม่สิ้นสุด การเปิดเผยอาจเกิดทุจริตฯ หรือเกิดได้เปรียบเสียเปรียบของผู้สมัครที่เหลือได้ • เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้งตามระบอบ ปชต. ที่เปิดเผยได้อยู่แล้ว • การเปิดเผยยิ่งจะเป็นการส่งเสริมการปกครอง ปชต. ให้มั่นคงถาวร • ทั้งยังส่งเสริมให้ ปชช. รู้ถึงสิทธิหน้าที่ เพื่อปกปักรักษาประโยชน์ ส่วนรวมด้วย
กรณีที่ 7 สค 4/2545 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวนไต่สวนข้อเท็จจริง ป.ป.ช. กรณีทุจริตต่อหน้าที่ ผู้ขอ : นายพล ก. ถูกร้องเรียนกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการสอบสวน คำให้การพยานบุคคล และ พยานหลักฐาน สถานะข้อมูล : สำนวนการสอบสวนอยู่ระหว่างสอบสวน หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ป.ป.ช. • - ไม่อยู่ในบังคับ กม.ข้อมูลข่าวสาร • เป็นหน่วยงานอิสระ ในกำกับของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. • ไม่อยู่ภายใต้กำกับ หรือบังคับบัญชาของคณะรัฐมนตรี • ป.ป.ช. เป็นหน่วยงานของรัฐ อยู่ในบังคับของกฎหมาย • การสอบสวนยังไม่แล้วเสร็จ อาจทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อม ประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ • ประกอบกับ อนุฯ ไต่สวนได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปข้อเท็จจริงให้ เพียงพอ ต่อสู้ โต้แย้ง ครอบคลุมทุกประเด็นแล้ว
กรณีที่ 8 สค 4/2545 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยรายงานการประชุม กธ.ยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน กรณีการหายตัวของนายทนงฯ ผู้ขอ : มูลนิธิพิพิธภัณฑ์แรงงานไทย ใช้สิทธิขอ คำขอ : รายงานการประชุม กธ.ยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน กรณีการหายตัวของนายทนงฯ สถานะข้อมูล : ยุติแล้ว หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร • - มีข้อความพาดพิงถึงหน่วยงาน และบุคคลอื่นในทางเสียหาย • อาจเกิดอันตรายต่อชีวิตของบุคคล • ไม่ปรากฎข้อเท็จจริงว่าจะเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ • แม้จะมีข้อมูลกระทบถึงสิทธิส่วนบุคคล ความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว และ สุขภาพของนายทะนง ต่ก็เป็นคำชี้แจงที่มีประโยชน์ต่อการแสวงหาข้อเท็จจริง กรณีหายตัว ไม่เป็นการรุกล้ำสิทธิเกินสมควร • แต่ให้ปกปิดชื่อผู้หญิงที่มีการกล่าวอ้างว่ามีความสัมพันธ์ส่วนตัวกับนายทนง
กรณีที่ 9 สค 27/2546 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวนการสอบสวนคดีอาญาที่ผู้อุทธรณ์ถูกกล่าวหา ผู้ขอ : เจ้าหน้าที่ของรัฐถูกกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการสอบสวนคดีอาญาที่ผู้อุทธรณ์ถูกกล่าวหาว่า ให้ผู้อื่นล่วงรู้ความลับราชการ สถานะข้อมูล : ยุติแล้ว สรุปว่า ให้ข้อกล่าวหาตกไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ป.ป.ช. • - เป็นข้อเท็จจริงทที่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่ ตาม พรบ. ปปช. • เมื่อไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 120 คก.ป.ป.ช. จึงมีมติไม่ เปิดเผย • ป.ป.ช. ตกอยู่ในบังคับ พรบ. ข้อมูลข่าวสาร • สำนวนการสอบสวนคดีอาญาที่ ป.ป.ช. พิจารณายุติแล้ว เมื่อปรากฏว่า พยานบุคคล มีเฉพาะ จนท. ตร ข้อความที่บันทึกไม่ส่งผลกระทบบุคคลอื่นย่อมเปิดเผยได้ • และไม่ปรากฏข้อเท็จจริงใดแสดงว่าจะทำให้ การบังคับใช้ กม. เสื่อมฯ
กรณีที่ 10 สค 41/2546 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวนการไต่สวนข้อเท็จจริงที่ผู้อุทธรณ์กล่าวหา จนท.ตร. กลั่นแกล้งจับกุม ผู้ขอ : เจ้าหน้าที่ของรัฐถูกกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการไต่สวนข้อเท็จจริงที่ผู้อุทธรณ์กล่าวหา จนท.ตร. กลั่นแกล้งจับกุม สถานะข้อมูล : ยุติแล้ว สรุปว่า ให้ข้อกล่าวหาตกไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ป.ป.ช. • - เป็นข้อเท็จจริงที่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่ ตาม พรบ. ป.ป.ช. • เมื่อไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 120 คก.ป.ป.ช. จึงมีมติไม่ เปิดเผย • ป.ป.ช. ตกอยู่ในบังคับ พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ • การยกมาตรา 120 ของ กม. ปปช. ขึ้นอ้าง โดยไม่ใช้ดุลยพินิจตามมาตรา 15 พรบ. ข้อมูล ย่อมเป็นการปฏิบัติที่ไม่ชอบตาม กม. ดังกล่าว • และไม่ปรากฏข้อเท็จจริงใดแสดงว่าจะทำให้ การบังคับใช้ กม. เสื่อมฯ
Thank You ! สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ