250 likes | 462 Views
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อนการศึกษาสู่ประชาคม “ อาเซียน”. จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่ 147. ทำไมต้อง... ขับเคลื่อนอาเซียน ?. จุดเริ่มต้นของอาเซียน. Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
E N D
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของประเทศไทย และนโยบายการขับเคลื่อนการศึกษาสู่ประชาคม“อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่ 147
ทำไมต้อง...ขับเคลื่อนอาเซียน?ทำไมต้อง...ขับเคลื่อนอาเซียน?
จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
วัตถุประสงค์สำคัญ: “เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค • เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ ...”
สมาชิกอาเซียน • สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999
ประชากร - 575 ล้านคน พื้นที่ - 4.5 ล้าน ตร.กม. GDP รวม - US $ 737 billion การค้า - US $ 720 billion การลงทุนจากต่างประเทศ - 25,654.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ข้อมูลทั่วไปของอาเซียน
ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียนความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน ความบริสุทธิ์ ความเจริญรุ่งเรือง สันติภาพและเสถียรภาพ ความกล้าหาญและพลวัตร ข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ
หลักการพื้นฐานของอาเซียน • การเคารพในอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน • การไม่แทรกแซงในกิจการภายใน • การแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี
ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
การสร้างความเป็นภูมิภาคการสร้างความเป็นภูมิภาค จุดประสงค์ของการรวมตัวเป็นภูมิภาค ผลประโยชน์ร่วมกัน สันติภาพและความปลอดภัย อำนาจทางการเมืองและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน ภูมิภาคที่เข้มแข็ง/ศักยภาพในการแข่งขัน
วิธีการสร้างความเป็นภูมิภาควิธีการสร้างความเป็นภูมิภาค ลดหรือกำจัดอุปสรรคต่างๆ กระชับความร่วมมือ ผสมผสานกิจกรรมต่างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมเข้าด้วยกัน ยอมรับและเห็นคุณค่าของความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแต่ละชาติ
China (จีน) Japan (ญี่ปุ่น) ROK เกาหลีใต้
ASEAN Centrality ASEAN+3 ASEAN ASEAN+6
ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน) • A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน • วางกรอบการทำงาน การจัดตั้งสถาบัน และแนวทางกฎหมายของASEAN • วัตถุประสงค์หลักของASEAN Charter -- สร้าง ASEANให้ ….. • มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น • เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น • ให้ความสำคัญต่อประชาชนมากขึ้น
ASEAN Milestones 2007 การลงนามในกฎบัตรอาเซียนร่วมกันของผู้นำประเทศสมาชิก 2015 มุ่งสู่การสร้างประชาคมอาเซียน(ASEAN Community) ประกอบด้วย - ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community) - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community)
ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ (เลขาธิการอาเซียน) 2551-2555
ทัศนคติและความตระหนักรู้เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน”บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูลประเทศสมาชิกอาเซียน สำรวจข้อมูลของนักศึกษา จำนวน 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน
ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN)
เป้าหมายของอาเซียน • ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศรวมเป็นประชาคมเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2558 • มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร • เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุน และการลงทุนอย่างเสรี • แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางานทำ • ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียน
Thank You อาเซียน