360 likes | 733 Views
บทบาทของดินตะกอนกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง. จุฑารัตน์ กิตติวานิช ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งภูเก็ต. เนื้อหาบรรยาย. องค์ประกอบและกระบวนการต่าง ๆ ในดินตะกอนที่สำคัญ. ความแตกต่างของดินตะกอนในฟาร์ม CoC และฟาร์มทั่วไป. การควบคุมสภาพแวดล้อมในบ่อเลี้ยงกุ้ง.
E N D
บทบาทของดินตะกอนกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งบทบาทของดินตะกอนกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง จุฑารัตน์ กิตติวานิช ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งภูเก็ต เนื้อหาบรรยาย • องค์ประกอบและกระบวนการต่าง ๆ ในดินตะกอนที่สำคัญ • ความแตกต่างของดินตะกอนในฟาร์ม CoC และฟาร์มทั่วไป • การควบคุมสภาพแวดล้อมในบ่อเลี้ยงกุ้ง • การบำบัดเลนและการฟื้นฟูดินตะกอนพื้นบ่อ
ดินตะกอนบ่อเลี้ยงกุ้งดินตะกอนบ่อเลี้ยงกุ้ง การสะสมของตะกอนเลน ของเน่าเสียจากการเลี้ยงกุ้งที่บริเวณกลางบ่อ
CO2CH4 Mn4+Mn2+ NO3- N2 Fe3+Fe2+ SO42-S2- ขาด ไม่เพียงพอ ขาดรุนแรง สภาพของการขาดออกซิเจนและการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบเคมีในดินตะกอน O2H2O เพียงพอ ORP -300 -100 100 300 500 700 mV ตะกอนดินที่มีออกซิเจน ตะกอนดินที่มีน้ำท่วมขัง
คาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ก๊าซไนโตรเจน สารอินทรีย์ พลังงาน การเจริญเติบโต ไนเตรท แอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนไตรท์ จุลินทรีย์ ก๊าซไนโตรเจน ไนตรัสออกไซด์ การเปลี่ยนแปลงสารประกอบไนโตรเจนในดิน จุลินทรีย์ ชั้นดินมีออกซิเจน ชั้นดินขาดออกซิเจน
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคุณภาพตะกอนเลนในบ่อเลี้ยงกุ้งเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคุณภาพตะกอนเลนในบ่อเลี้ยงกุ้ง ที่มีการจัดการเตรียมบ่อแตกต่างกัน 2 ระบบ ระบบสมดุลนิเวศ: พรวนดิน ถ่ายน้ำน้อย ระบบทั่วไป: มีการเปลี่ยนถ่ายน้ำ
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพตะกอนดินเฉลี่ยรายเดือนการเปลี่ยนแปลงคุณภาพตะกอนดินเฉลี่ยรายเดือน Code of Conduct (CoC) กับฟาร์มเลี้ยงกุ้งแบบพัฒนาทั่วไป ไนโตรเจนรวม คาร์บอนอินทรีย์รวม
ความเครียดและโรคกุ้ง ปริมาณสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ยงกุ้ง การจัดการบ่อเลี้ยง ความแปรปรวนของฤดูกาล เช่น อุณหภูมิ การสะสมของของเสียในบ่อเลี้ยง ศักยภาพในการเลี้ยงกุ้งให้มีการเจริญเติบโตและมีสุขภาพดี ความหนาแน่นของกุ้ง
สมมุติฐานของปัญหากุ้งโตช้าสมมุติฐานของปัญหากุ้งโตช้า • การจัดการเลี้ยงกุ้งแบบระบบปิดด้วยความหนาแน่นสูงในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ซึ่งจะทำให้พื้นบ่อขาดออกซิเจนและเน่าเสียอย่างรวดเร็ว 2. ผลจากการเน่าเสียในสภาพที่ขาดออกซิเจนทำให้เกิดสารประกอบที่เป็นพิษ โดยเฉพาะไฮโดรเจนซัลไฟด์ ที่พื้นบ่อ ทำให้กุ้งลงไปหากินที่พื้นบ่อน้อยลง และลดการกินอาหาร
ผลกระทบของคุณภาพน้ำและดินต่อการอัตราการกินอาหารของกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงในบ่อผลกระทบของคุณภาพน้ำและดินต่อการอัตราการกินอาหารของกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงในบ่อ
ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งแวดล้อมกับการเจริญเติบโตของกุ้ง Growth = 2.06 – 0.07(Sal) + 0.08 (SNO3) – 0.13 (SPON) R2= 0.97
แนวคิดในการแก้ปัญหา • หากสามารถยับยั้งความเน่าเสียของพื้นบ่อให้คงอยู่ในระดับที่ไม่ทำให้เกิดไฮโดรเจนซัลไฟด์ได้ พื้นบ่อก็จะยังคงมีสภาพแวดล้อมที่ดี • ทำให้กุ้งสามารถลงไปกินอาหารได้มากขึ้น การเจริญเติบโตและผลผลิต จะดีขึ้นตามลำดับ
ข้อแนะนำต่อการแก้ปัญหาในสภาพที่กุ้งไม่กินอาหารข้อแนะนำต่อการแก้ปัญหาในสภาพที่กุ้งไม่กินอาหาร • อย่าฝืนให้อาหาร • ตรวจสอบพื้นก้นบ่อปริมาณอาหารในลำไส้ของกุ้ง และตรวจอาหารในยอให้มีผลสอดคล้องกัน • ปรับลดระยะเวลาการตรวจสอบอาหารในยอให้เร็วขึ้นประมาณ 30 – 45 นาที • เพิ่มออกซิเจนร่วมกับการปรับลดอาหารตั้งแต่ในช่วงแรกๆที่เริ่มพบปัญหา (พบกุ้งที่ไม่มีอาหารในลำไส้ในช่วงของการเช็คยอ) • จัดการแก้ไขปัญหาที่พื้นก้นบ่อ และคุณภาพน้ำ
O2 OC, ON C02 N2 water POC PON Phytoplankton O2 C02 Nitrifying Bacteria Heterotrophic Bacteria Shrimp DOC DON NH3 NO2 NO3 NH3 sediment OC, ON NH3 NO3 NO2 DON Heterotrophic Bacteria Nitrifying Bacteria Denitrifying Bacteria บทบาทของพื้นบ่อในสภาวะที่กุ้งกินอาหารในสภาวะสิ่งแวดล้อมดี
KNO3, NaNO3=0.5 กก/ไร่ การให้อาหาร แพลงก์ตอนพืช น้ำ - ไนตริฟิเคชั่นในน้ำ - - - + - การหายใจ ในน้ำ การขับถ่าย + กุ้ง ไนเตรทในน้ำ O2 - - - การหายใจ ของตะกอนดิน + + - ตะกอน ดิน อาหารเหลือ - ไนตริฟิเคชั่น ไนเตรท ในตะกอนดิน - การย่อยสลาย - + ซัลไฟด์ + + ดีไนตริฟิเคชั่น ซัลเฟตรีดักชั่น การแก้ปัญหาความเน่าเสียของพื้นบ่อในสภาวะที่กุ้งไม่กินอาหาร โดยใช้การเติมไนเตรท
เปรียบเทียบ การจัดการฟาร์มเลี้ยงกุ้ง แบบ Code of Conduct (CoC) กับแบบพัฒนาทั่วไป
ผิวหน้าดินหลังจากฉีดเลนใหม่ผิวหน้าดินหลังจากฉีดเลนใหม่ การเตรียมพื้นบ่อ ระยะเวลา ในการตากบ่อ • หน้าดินที่เปิดใหม่เป็นหน้าดินเก่าที่ยังคงมีสารอินทรีย์ที่ขาดออกซิเจนอยู่ • จะต้องมีการตากและทิ้งเวลาให้ดินได้รับออกซิเจนและมีการย่อยสลายอย่างเพียงพอก่อนที่จะเริ่มเลี้ยงกุ้งต่อไป
การบำบัดเลนภายในบ่อโดยไม่นำเลนออกการบำบัดเลนภายในบ่อโดยไม่นำเลนออก 1. เปลี่ยนสภาพของดินเลนที่ขาดออกซิเจนให้อยู่ในสภาพมีออกซิเจน(ใช้เวลาประมาณ 2 –3 สัปดาห์) 2. บำบัดให้สารอินทรีย์และขี้กุ้งสลายตัวเปลี่ยนเป็นปุ๋ยที่เป็นประโยชน์ โดยใช้หลักการควบคุมความชื้น และพีเอช (ใช้ระยะเวลาประมาณ 4– 6 สัปดาห์)
การบำบัดเลนในบ่อเลี้ยงด้วยวิธีต่างๆ กัน แอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนโตรเจนรวม ไนเตรท เน้นการปรับสภาพดิน ความชื้นเหมาะสม ควบคุมพีเอช โรยปูนขาว
การเตรียมบ่อในสภาพที่ไม่สามารถทำให้พื้นบ่อแห้งได้การเตรียมบ่อในสภาพที่ไม่สามารถทำให้พื้นบ่อแห้งได้ ใช้วิธีเติมน้ำและไถคราดเพื่อพลิกหน้าดิน • ทำให้ออกซิเจนในน้ำสามารถแทรกเข้าไปในดินเลนสารพิษในดินเลนสามารถละลายออกมาอยู่ในน้ำ • ออกซิเจนที่เพิ่มขึ้นช่วยย่อยสลายและปรับเปลี่ยนสภาพดินเลนให้ฟื้นกลับมาได้ทำอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งดินเลนไม่มีกลิ่น และเปลี่ยนสีเป็นสีดินเดิมไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์
การพื้นฟูสมดุลของดินที่ผ่านการเลี้ยงมาเป็นเวลานานการพื้นฟูสมดุลของดินที่ผ่านการเลี้ยงมาเป็นเวลานาน • ใช้วิธีไถพรวน เติมจุลินทรีย์หมักปุ๋ยคอกและแกรบ • เป็นการช่วยย่อยสลายอินทรีย์สารในดินและปรับเติมธาตุอาหารอื่นๆรักษาหรือฟื้นฟูสมดุลของดินที่เลี้ยงกุ้ง
แนวคิดในการใช้ธาตุอาหารจากเลนมาใช้ในการผลิตอาหารธรรมชาติในบ่อเลี้ยงกุ้งแนวคิดในการใช้ธาตุอาหารจากเลนมาใช้ในการผลิตอาหารธรรมชาติในบ่อเลี้ยงกุ้ง ธาตุอาหารเหลือในระหว่างการเลี้ยงกุ้ง แพลงก์ตอนสัตว์ ผลผลิตขั้นต้น แพลงก์ตอนพืช ซากอินทรีย์ สิ่งขับถ่าย ซากอินทรีย์ ห่วง จุลินทรีย์ การปล่อยธาตุอาหาร จากตะกอนเลน ลูกกุ้ง สัตว์หน้าดิน การสะสมของธาตุอาหาร ในตะกอนเลน C, N, P, S
การใช้บ่อดินบำบัดน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งการใช้บ่อดินบำบัดน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง ระบบบำบัดน้ำจากการเลี้ยงกุ้งทะเลที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย คือการใช้วิธีการตกตะกอนและเติมอากาศ ในบ่อดิน จุดเด่น : ตะกอนดินพื้นบ่อ สามารถมีบทบาทในการดูดซับธาตุอาหารและ สารอินทรีย์ : เทคโนโลยีไม่ซับซ้อน เหมาะสำหรับเกษตรกรไทย : สามารถใช้พื้นที่ บ่อและเครื่องมือเลี้ยงกุ้งประจำฟาร์มที่มีอยู่ ช่วยในการบำบัดน้ำ ทำให้เสียค่าใช้จ่ายน้อย ตัวแปร : ระบบบำบัดจะต้องพิจารณาถึงขนาดพื้นที่เลี้ยงและวิธีการเลี้ยง ซึ่งอาจแตกต่างกันบ้างในแต่ละพื้นที่
บ่อเลี้ยง บ่อตกตะกอน (ตกตะกอน 12 ชม.) บ่อเติมอากาศ (ให้อากาศ 7-10 วัน) แผนภาพแสดงแนวคิดระบบบำบัดด้วยการตกตะกอนและเติมอากาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของของเสียในระบบบำบัด บ่อตกตะกอน : การตกตะกอนของสารอินทรีย์ที่ไม่ละลายน้ำ และเลน บ่อเติมอากาศ : การย่อยสลายของสารอินรีย์แบบใช้ออกซิเจน (Aerobic Decomposition) Aerobic Oxidation (Nitrification และ Sulfide Oxidation)
สรุป บทบาทของดินตะกอนต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • บทบาทด้านการเป็นแหล่งสะสมและกักเก็บธาตุอาหาร และเป็นแหล่งให้ธาตุอาหารแก่มวลน้ำเบื้องบน • บทบาทในการควบคุมและเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของน้ำ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการเลี้ยงกุ้ง • มีผลต่อการกินอาหาร การเจริญเติบโต และอัตราการตายของกุ้งในบ่อเลี้ยง • เป็นดัชนีสำคัญในการบอกถึงสภาวะการใช้ออกซิเจน เพื่อให้มีการจัดการบ่อเลี้ยงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม