661 likes | 1.16k Views
การผลักดันมาตรฐานสินค้าเกษตรไทย สู่เมืองเกษตรสีเขียว. 16 กันยายน 2557 ณ โกลด์เมาท์เท่น วังน้ำเขียวรีสอร์ท จ.นครราชสีมา. หัวข้อการบรรยาย. ความสำคัญของมาตรฐาน “มกษ.” เกษตรสีเขียว ข้อกำหนด มกษ. GAP พืชอาหาร (9001-2556). แนวโน้มและความต้องการของตลาด. สินค้าสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ 100%
E N D
การผลักดันมาตรฐานสินค้าเกษตรไทยสู่เมืองเกษตรสีเขียวการผลักดันมาตรฐานสินค้าเกษตรไทยสู่เมืองเกษตรสีเขียว 16 กันยายน 2557 ณ โกลด์เมาท์เท่น วังน้ำเขียวรีสอร์ท จ.นครราชสีมา
หัวข้อการบรรยาย • ความสำคัญของมาตรฐาน “มกษ.” • เกษตรสีเขียว • ข้อกำหนด มกษ. GAP พืชอาหาร (9001-2556)
แนวโน้มและความต้องการของตลาดแนวโน้มและความต้องการของตลาด • สินค้าสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ 100% • ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม • มีความยั่งยืนในอุตสาหกรรม • สินค้ามีความปลอดภัย ไม่มียาสัตว์หรือสารเคมีตกค้าง
กระบวนการควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตรกระบวนการควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร ตลาด แหล่งวัตถุดิบ จัดเก็บ คัดเลือก - ผลิต ขนส่ง บรรจุ ผู้บริโภค Traceability - การตามสอบ
ระบบประกันคุณภาพในสินค้าเกษตรระบบประกันคุณภาพในสินค้าเกษตร GMP GAP GMP GMP/HACCP GMP มาตรฐานสินค้าเกษตร (มกษ.)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สินค้าเกษตรที่ผลิตในประเทศ/นำเข้า ยังไม่มีมาตรฐานบังคับใช้ ส่งผลให้ - สินค้าเกษตรด้อยคุณภาพ - ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค การกำหนดมาตรฐาน /การตรวจสอบและรับรอง กลไก 6
พระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตรพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร • ควบคุมการผลิต และส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร • ควบคุม ตรวจสอบ รับรอง ผู้ผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร โดยเฉพาะระดับฟาร์ม และเพื่อการส่งออก • ควบคุม ตรวจสอบ รับรองสินค้าเกษตรและอาหารเพื่อส่งออก • กำหนดมาตรฐานด้านคุณภาพ / ความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและอาหารในขอบเขตที่เกี่ยวข้อง • ประกาศลงราชกิจนานุเบกษา เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2551 • มีผลบังคับใช้ภายใน 180 วัน หลังจากประกาศ(วันที่ 20 สิงหาคม 2551)
การกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร คุณลักษณะด้านคุณภาพและความปลอดภัย อย่างใดอย่างหนึ่ง วิธีการ กรรมวิธี กระบวนการจัดการการผลิต ข้อกำหนด หีบห่อ การบรรจุหีบห่อ การทำเครื่องหมาย หรือฉลาก การตรวจสอบ ประเมิน ทดสอบ ทดลอง วิเคราะห์ หรือวิจัย หลายอย่าง
กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารที่เป็นประโยชน์ ตรง และทันต่อความต้องการของผู้ใช้มาตรฐาน ครอบคลุมความปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตในระดับไร่นาจนถึงผู้บริโภค (From Farm to Table) สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ/ประเทศคู่ค้า กระบวนการกำหนดมาตรฐานจะต้องสอดคล้องตามแนวทางสากล อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ อาศัยหลักการประเมินความเสี่ยง มีความโปร่งใส รับฟังความเห็นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปฏิบัติได้ แนวทางการกำหนดมาตรฐาน 9
ประเภทมาตรฐานสินค้าเกษตรประเภทมาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานทั่วไป มาตรฐานบังคับ มาตรฐานที่กำหนดเพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานขอรับการรับรอง และใช้เครื่องหมายได้โดยสมัครใจ มาตรฐานที่กำหนดให้สินค้าเกษตรต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
ประเภทของมาตรฐานสินค้าเกษตรประเภทของมาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสินค้า คุณภาพลักษณะของสินค้าเกษตรที่เป็นผลผลิต เป็นเกณฑ์ในการผลิต เป็นเกณฑ์ในการผลิต การค้า และการตรวจรับรองที่ครอบคลุมความปลอดภัยและคุณภาพ มาตรฐานระบบการผลิตเกณฑ์ปฏิบัติที่ดีในการผลิตและการตรวจรับรองการผลิตในระดับฟาร์ม โรงคัดบรรจุ/โรงงานแปรรูป มาตรฐานข้อกำหนดทั่วไปเกณฑ์กำหนดทั่วไปต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและสุขอนามัยสัตว์และพืช
รูปแบบมาตรฐานสินค้าเกษตร (มกษ.) มาตรฐานระบบการผลิต = 104 เรื่อง มาตรฐานข้อกำหนดทั่วไป = 33เรื่อง รวม 222 เรื่อง มาตรฐานสินค้า = 85 เรื่อง
มาตรฐานสินค้า • ลำไย • มังคุด • ทุเรียน • สับปะรด • มะม่วง • กล้วย • ข้าวหอมมะลิไทย • หน่อไม้ฝรั่ง • พริก • กระเจี๊ยบเขียว • ลองกอง • เงาะ • ส้มโอ • มะเขือเทศ • ส้มเปลือกล่อน • ข้าวโพดฝักอ่อน • ไก่เนื้อ ตัวอย่าง • ไก่ไข่ • ไข่ไก่ • เนื้อแพะ • เนื้อสุกร • กล้วยไม้ • ปลานิล • กุ้งก้ามกราม • ปลาหมึก • ปลาแล่เยือกแข็ง • ปูม้า • ปลาทูน่าและโบนิโตในภาชนะบรรจุปิดสนิท • ปลากะพงขาว • กุ้งเยือกแข็ง • หอยแมลงภู่ • กุ้งขาวแวนาไม • กุ้งกุลาดำ รวม 85 เรื่อง
มาตรฐานระบบการผลิต ตัวอย่าง • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับกล้วยไม้ • การปฏิบัติที่ดีสำหรับศูนย์รวมน้ำนมดิบ • การปฏิบัติที่ดีในการผลิตสัตว์น้ำ เล่ม 1 • การปฏิบัติที่ดีในการผลิตสัตว์น้ำ เล่ม 2 • การปฏิบัติที่ดีในการผลิตสัตว์น้ำ เล่ม 3 • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มเป็ดไข่ • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มนกกระทา • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มแพะเนื้อ • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มโคเนื้อ • การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงฆ่าสัตว์ • การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงฆ่าสุกร • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับลำไย • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับ ข้าวหอมมะลิไทย • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มผึ้ง • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับหน่อไม้ฝรั่ง • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับ กระเจี๊ยบเขียว • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพริก • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวโพดฝักอ่อน รวม 104 เรื่อง
มาตรฐานข้อกำหนดทั่วไปมาตรฐานข้อกำหนดทั่วไป ตัวอย่าง • สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด • สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ • วิธีชักตัวอย่างเพื่อตรวจหาสารพิษตกค้าง • ข้อกำหนดด้านความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร • มาตรการสุขอนามัยพืช : แนวทางการเฝ้าระวัง • หลักการทำงานในการวิเคราะห์ความเสี่ยง • ข้อปฏิบัติการควบคุมการใช้ยาสัตว์ • หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารที่ได้จากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ • การประเมินความเป็นไปได้ในการก่อภูมิแพ้ • อาหารฮาลาล รวม 33 เรื่อง
เกษตรสีเขียว การพัฒนาคนและสังคมไทยให้มีคุณภาพ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555-2559) สร้างฐานทางปัญญาในการก้าวสู่สังคมและเศรษฐกิจสีเขียวที่มีแผนการผลิตและบริโภคอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ความปลอดภัยอาหาร/ความมั่นคงความปลอดภัยอาหาร/ความมั่นคง ความมั่นคงอาหาร สุขภาพของประชาชน เศรษฐกิจของประเทศ ความปลอดภัยอาหาร การค้าระหว่างประเทศ สังคม ผู้ประกอบการ รัฐบาล www.themegallery.com
เกษตรสีเขียว พัฒนาจังหวัดที่มีศักยภาพและความโดดเด่นในการผลิตสินค้าเกษตรให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียว ที่มีรูปแบบการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสอดคล้องกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้
มาตรฐานสินค้าเกษตรของไทยมาตรฐานสินค้าเกษตรของไทย โรงงาน สินค้า ฟาร์ม • มาตรฐานฯการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร (มกษ 6903-2552) • มาตรฐาน ฯหลักเกณฑ์การปฏิบัติ: หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร (มกษ 9023-2550) • มาตรฐานฯการปฏิบัติที่ดีสำหรับการผลิตผักและผลไม้สดตัดแต่งพร้อมบริโภค (มกษ. 9039-2556) • มาตรฐานผักและผลไม้ เช่น เงาะ มังคุด ทุเรียน พริก เกระเจี๊ยบเขียว 20
มาตรฐาน GAP สำหรับพืชอาหาร(มกษ.9001-2556) • ประกาศใช้ครั้งแรก เมื่อ 6 พ.ย. 2546 • ปรับปรุงครั้งที่ 1 และประกาศใช้ เมื่อ 30 กันยายน 2552 • ปรับปรุงครั้งที่ 2 และประกาศใช้เมื่อ 30 เมษายน 2556 • ใช้เอกสารต่อไปนี้เป็นแนวทาง • Codex: Code of Hygienic Practice for Fresh Fruits and Vegetables (CAC/RCP 53-2003). • ASEAN: Good Agricultural Practices for the Production of Fresh Fruits and Vegetables in the ASEAN region (ASEAN GAP).
มาตรฐานระบบการผลิต: GAPพืชอาหาร (มกษ.9001-2556) ขอบข่าย: ครอบคลุมข้อกำหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับการผลิตพืช เพื่อเก็บเกี่ยวผลิตผลสำหรับใช้เป็นอาหาร เช่น พืชผัก ไม้ผล พืชไร่ พืชเครื่องเทศ พืชสมุนไพร ทุกขั้นตอนของการผลิตในระดับฟาร์มและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ซึ่งมีการบรรจุ และ/หรือรวบรวมผลิตผล เพื่อจำหน่าย วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ผลิตผลที่ปลอดภัย มีคุณภาพเหมาะสมในการบริโภค โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ ความปลอดภัยและสวัสดิภาพของผู้ปฏิบัติงาน
GAPพืชอาหาร (มกษ.9001-2556) ข้อกำหนด 1. น้ำ 2. พื้นที่ปลูก 3. วัตถุอันตรายทางการเกษตร 4. การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิตก่อนการเก็บเกี่ยว 5.การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว 6. การพักผลิตผล การขนย้ายในแปลงปลูก และเก็บรักษา 7. สุขลักษณะส่วนบุคคล 8. บันทึกข้อมูลและการตามสอบ
1.น้ำ : น้ำที่ใช้ในแปลงปลูก
1.น้ำ : น้ำที่ใช้ในแปลงปลูกระบบไฮโดรโพนิก
1.น้ำ : น้ำที่ใช้ในการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
3. วัตถุอันตรายทางการเกษตร
3. วัตถุอันตรายทางการเกษตร (ต่อ)
ตัวอย่าง:การเก็บ /การใช้/การกำจัด วัตถุอันตรายทางการเกษตร 2. พื้นที่ปลูก
4.การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิตก่อนการเก็บเกี่ยว4.การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิตก่อนการเก็บเกี่ยว
5. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติการหลังเก็บเกี่ยว
5. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติการหลังเก็บเกี่ยว (ต่อ)
6. การพักผลิตผล การขนย้ายในแปลงปลูก และเก็บรักษา
8. บันทึกข้อมูลและการตามสอบ: เอกสารและบันทึกข้อมูล
8. บันทึกข้อมูลและการตามสอบ:การตามสอบและการทบทวนวิธีปฏิบัติ
www.acfs.go.th มาตรฐาน สินค้าเกษตร
สิ่งสำคัญสำหรับผู้ผลิตที่เข้าสู่มาตรฐาน GAP • มุ่งมั่นในการผลิตสินค้าคุณภาพและปลอดภัย • ทำความเข้าใจมาตรฐานระบบการผลิต GAP • ศึกษาความต้องการของตลาดและผู้ซื้อ • จัดทำแผนการผลิตและควบคุมคุณภาพ • จดบันทึกข้อมูล/เก็บรักษาเป็นระเบียบ • ทบทวน/ตรวจสอบตนเอง
“สร้างความมั่นคงให้ผู้ผลิต สร้างคุณภาพชีวิตให้ผู้บริโภค”