160 likes | 518 Views
โรคต้นและใบแห้ง (Phytophthora blight ). นายมูฮำหมัดซาหารี สะแลแม รหัสประจำตัว 404652024 โปรแกรมชีววิทยาประยุกต์(จุลชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ความหมายโรค. การที่พืชมีความผิดปกติทางด้านสรีระ
E N D
โรคต้นและใบแห้ง (Phytophthora blight) นายมูฮำหมัดซาหารี สะแลแม รหัสประจำตัว 404652024 โปรแกรมชีววิทยาประยุกต์(จุลชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ความหมายโรค • การที่พืชมีความผิดปกติทางด้านสรีระ • พืชมีโครงสร้างทางสัณฐานเปลี่ยนแปลงไปโดยพืชจะแสดงอาการ(symptom)ให้เห็นความผิดปกตินั้นทำให้เกิดความเสียหาย • อาการผิดปกติมีผลทำให้คุณค่าทางเศรษฐกิจของผลลดลงก็ถือว่าเป็นโรคพืช • เช่นราดำ(Sooty mold)ที่เกาะอยู่ตามผิวใบพืชและผิวของผลไม้
สาเหตุโรค(causingagents) • โรคพืชติดเชื้อหรือโรคระบาด(Infectious diseases) ‣ เชื้อรา ‣ เชื้อแบคทีเรีย ‣ ไส้เดือนฝอยศัตรูพืช ‣ เชื้อไฟโตพลาสมา
สาเหตุโรคพืช(causingagents)(ต่อ)สาเหตุโรคพืช(causingagents)(ต่อ) • โรคพืชที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต • การขาดแร่ธาตุอาหารในพืช • ขาดธาตุไนโตรเจน • ขาดธาตุฟอสฟอรัส • ขาดธาตุโพแทสเซียม • ขาดธาตุแมกนีเซียม • ขาดธาตุแคลเซียม • ขาดธาตุโบรอน • ขาดธาตุกำมะถัน • ขาดธาตุกำมะถัน • ขาดธาตุเหล็ก • ขาดธาตุสังกะสี
โรคต้นและใบแห้ง(Phytophthora blight) • เกิดจากเชื้อ phytophthora • ลักษณะอาการของโรค • ผลพริก - แผลจุดช้ำยุบตัวลงมีเส้นใยสีขาวปกคลุมมีจุดสีเหลืองส้มหรือน้ำตาล • ยอด - แห้งตาย • ราก–เน่า • ใบ - จุดช้ำๆเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลหดย่นมีเส้นใยสีขาวปกคลุม • สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค • ฝนตกชุกมีน้ำค้างจัด • การแพร่ระบาด • แพร่โดยลมน้ำเมล็ดเครื่องมือและสิ่งเคลื่อนไหวอื่นๆ • อยู่ข้ามฤดูในเศษซากพืชที่เป็นโรค
การป้องกันกำจัดโรค • การใช้เชื้อราเพื่อลดปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา • ใช้เชื้อ Trichoderma isolate T-15 คลุกเมล็ดหัวหอมใหญ่แล้วปลูกสามารถ ลดการเป็นโรคกล้าเน่า • ใช้เชื้อ Trichoderma ในการป้องกันกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อ Sclerotium roffsii ในข้าวโพด • ใช้คลุกกับเมล็ดถั่วสามารถป้องกันกำจัดโรค Southernblight ของถั่วลิสง • ใส่เชื้อปลูกลงในดินสามารถป้องกันโรคเน่าคอดินของมะเขือเทศ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต • ภูมิอากาศ • ปลูกกันทั่วไปทั้งในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนขึ้นได้ตั้งแต่พื้นที่ระดับน้ำทะเลไปจนถึงระดับความสูง 2000 เมตรอุณหภูมิตั้งแต่ 20-25 องศาเซลเซียสเป็นอุณหภูมิที่เหมาะที่สุด • ภูมิอากาศร้อนชื้นจะส่งเสริมต่อการเจริญเติบโตในขณะที่อากาศแห้งจะส่งเสริมการแก่ของผลเร็วขึ้น • พืชที่ปลูกโดยอาศัยน้ำฝนจะขึ้นได้ดีต้องปริมาณน้ำฝน 25-50 นิ้ว
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต(ต่อ)ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต(ต่อ) • สภาพของภูมิอากาศไม่เหมาะสม • การขาดน้ำหรือมีน้ำอยู่มากเกินไป • ความแห้งแล้งของอากาศจะมีอาการใบเหลืองใบมีสีม่วงใบเหี่ยวย่นและตายอย่างรวดเร็วและใบไหม้ระหว่างเส้นใบและตามขอบใบ • อุณหภูมิที่สูงหรือต่ำเกินไป • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ไม่เหมาะสม • การใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรต่างๆ • การมีธาตุอาหารมากเกินไป • การมีธาตุโบรอน (B) มากเกินไปทำให้พืชเกิดอาการใบเหลือง
ปัจจัยที่ทำให้พืชเป็นโรคและระบาดอย่างรุนแรงปัจจัยที่ทำให้พืชเป็นโรคและระบาดอย่างรุนแรง • พันธุ์พืช: พืชที่ปลูกมีความอ่อนแอต่อการเข้าทำลายของเชื้อโรค • เชื้อสาเหตุ : เชื้อสาเหตุมีความสามารถที่จะเข้าทำลายพืชนั้น • สภาพแวดล้อม : สภาพแวดล้อมมีความเหมาะสมที่จะทำให้เกิดโรค • พาหะเชื้อโรคต่างๆ : เช่นแมลงและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ความสำคัญของรา • ย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ให้อยู่ในรูปที่ง่าย • ช่วยทำให้ดินสมบูรณ์ขึ้นมีธาตุอาหารมากขึ้น • ช่วยในอุตสาหกรรม • ใช้ประโยชน์ในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์
สมบัติของเชื้อรา • เชื้อราส่วนใหญ่มีการดำรงชีพทั้งที่เป็นอิสระหรือแซปโปรไฟต์ • เชื้อราเป็นจุลินทรีย์ที่เลี้ยงง่าย • เชื้อราเป็นยูคาริโอตชั้นต่ำที่เจริญค่อนข้างเร็ว • เชื้อราสามารถเจริญได้โดยไม่ต้องปรับสภาพแวดล้อมพิเศษใดๆ • เชื้อรากระจายพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ
การจัดจำแนกหมวดหมู่ราการจัดจำแนกหมวดหมู่รา • ลำดับการจัดหมวดหมู่รา • จัดราไว้ใน Kingdome Fungi • ดีวิชั่นคือ divition Myxomycota และ divition Eumycota • ราชั้นต่ำราใน subdivition Mastigomycotina และ Zygomycotina • ราชั้นสูงราใน subdivition Deuteromycotina , Ascomycotina และ Basidiomycotina
เชื้อรา Phytophthora • สัณฐานวิทยา • เส้นใยของเชื้อราPhytophthoraไม่มี septum กั้นแตกกิ่งก้านเป็นมุมฉาก • มักมีรูปร่าง pear-shaped เกิดอยู่บนก้าน sporangiopore • อนุกรมวิธาน • Phycomycetes เป็นคลาสของเชื้อราชั้นต่ำที่มีการสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่าสปอแรงจิโอสปอร์ • วัฏจักรชีวิตในเชื้อรา • โครงสร้างเป็นดิพลอยด์ ยกเว้นเซลล์สืบพันธุ์ (gametes) โครงสร้าง (gametangail phase) เป็นแฮพลอยด์
เชื้อรา Phytophthora(ต่อ) • การสืบพันธุ์ ระบบการผสมพันธ์ที่มีสองเพศต่างกัน • สร้าง fertilization tube แทงผ่านหนัง oogonium สู่ oospher • ผสมแบบ hybrid oospore ที่ต่าง strain
จบการนำเสนอ ขอบคุณทุกท่านที่รับฟัง