1 / 17

โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ

โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ. โดยสำนักธรรมมาภิบาลธุรกิจ. 1. โครงสร้าง. ข้าราชการ 19 คน พนักงานราชการ 3 คน ลูกจ้างเหมา 1 คน. สำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ. ฝ่ายบริหารทั่วไป. ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 1. ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 2.

Download Presentation

โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ โดยสำนักธรรมมาภิบาลธุรกิจ

  2. 1 โครงสร้าง ข้าราชการ 19 คน พนักงานราชการ 3 คน ลูกจ้างเหมา 1 คน สำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 1 ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 2 ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 3 ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 4 - งานสารบรรณและงาน ธุรการทั่วไป - งานงบประมาณ และพัสดุ - รายงานแผน/ผลการ ปฏิบัติงานประจำเดือน - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย - กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ การประกอบธุรกิจของคน ต่างด้าว พ.ศ. 2542 - กำกับดูแลการประกอบธุรกิจ ของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาต และการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ กำหนดในใบอนุญาตประกอบ ธุรกิจของคนต่างด้าว - ติดตามการถ่ายทอดเทคโนโลยี ตามแผนงานการถ่ายทอด เทคโนโลยีที่ธุรกิจต่างด้าวจัดทำ - ตรวจสอบกรณีธุรกิจหลีกเลี่ยง/ ฝ่าฝืนการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติการประกอบ ธุรกิจของคนต่างด้าว - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย - กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ ให้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยห้าง หุ้นส่วนและบริษัท และ พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 - กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ เพื่อบังคับใช้ พ.ร.บ. กำหนด ความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจด ทะเบียน ห้างหุ้นส่วน จำกัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ. 2499 - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย - กำกับดูแลและตรวจสอบ ธุรกิจให้ปฏิบัติตาม พ.ร.บ. บริษัทมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535 - กำกับดูแลและตรวจสอบ ธุรกิจให้ปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543 และ พระราชบัญญัติวิชาชีพ บัญชี พ.ศ. 2547 - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย - กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ หอการค้า พ.ศ. 2509 และ พระราชบัญญัติสมาคมการค้า พ.ศ. 2509 - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย

  3. 2 ภารกิจของสำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ การกำกับดูแลธุรกิจให้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและมีธรรมาภิบาล ถือเป็นพันธกิจที่สำคัญของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยปัจจุบันมีนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง จำนวนกว่า 960,000 ราย มีนิติบุคคลคงอยู่กว่า 540,000 ราย มีการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวกว่า 4,500 ราย และมีการจดทะเบียนจัดตั้งใหม่เพิ่มขึ้นปีละกว่า 42,000 ราย ซึ่งต้องมีการบริหารจัดการ การส่งเสริม และกำกับดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างถูกต้อง เป็นไปตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ 9 ฉบับของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นกับภาคธุรกิจ ลดผลกระทบความเสียหายต่อประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศ ส่งเสริมให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศเข้มแข็ง เติบโตอย่างยั่งยืน

  4. ภารกิจของสำนักธรรมาภิบาลธุรกิจภารกิจของสำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ สำนักธรรมาภิบาลธุรกิจมีภารกิจ ดังนี้ 1 กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจให้ปฏิบัติตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของกรม 2 ตรวจสอบตามข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายที่อยู่ในความ รับผิดชอบของกรม พัฒนาหลักเกณฑ์ มาตรฐาน วิธีการและขั้นตอนปฏิบัติเกี่ยวกับการกำกับดูแล และตรวจสอบธุรกิจ 3 4 ติดตาม วิเคราะห์และประมวลผลการกำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ ให้คำปรึกษา/แนะนำ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นแก่ภาคธุรกิจเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามกฎหมายอย่างจริงจัง 5

  5. 3 ธรรมาภิบาลธุรกิจ (Corporate Good Governance) คืออะไร ธรรมาภิบาลธุรกิจ ระบบการบริหาร และควบคุมการดำเนินงานภายในของบริษัท เพื่อให้บริษัทสามารถบรรลุถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งในหลักการแล้ว บริษัทควรจะดำเนินงานเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นในระยะยาว ธรรมาภิบาลธุรกิจ (CorporateGoodGovernance)เป็นประเด็นที่ทั่วโลกให้ความสนใจอย่างมากในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ทั้งนี้เพราะ ถ้าหากองค์กรต่างๆ ไม่มีธรรมาภิบาลแล้ว นอกจากจะสร้างปัญหาให้กับองค์กรนั้นแล้ว ยังจะสร้างปัญหากับประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง

  6. ธรรมาภิบาลธุรกิจ (Corporate Good Governance) คืออะไร ธรรมาภิบาลธุรกิจ สำหรับประเทศไทย เริ่มพูดถึงประเด็น “ธรรมาภิบาล” ภายหลังจากเกิดวิกฤตในปี 2540 ทั้งนี้เพราะสาเหตุหลักสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิดวิกฤตคือ การที่สถาบันการเงิน และองค์กรธุรกิจส่วนใหญ่ไม่มีธรรมาภิบาล ดังนั้น จึงมีการถามหา goodgovernanceในภาคเอกชนรวมทั้งในภาครัฐ

  7. 4 โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านกำกับดูแลให้ธุรกิจปฏิบัติตามกฎหมาย ตรวจสอบความถูกต้องทะเบียนธุรกิจ 1 ก่อนการจดทะเบียน ตรวจสอบความมีตัวตนของผู้เริ่มก่อการ หุ้นส่วน กรรมการหรือ ผู้ชำระบัญชีและสถานที่ตั้งสำนักงานของนิติบุคคลจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง แบบ Online ตรวจสอบแหล่งที่มาของเงินค่าหุ้น หรืองเงินลงทุน ตรวจสอบกรณีมีข้อโต้แย้งคัดค้านการจดทะเบียน

  8. โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน หลังการจดทะเบียน ตรวจสอบความมีตัวตนของผู้เริ่มก่อการ หุ้นส่วน กรรมการหรือ ผู้ชำระบัญชีและสถานที่ตั้งสำนักงานของนิติบุคคลจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง โดยระบบ Batch Processing ตรวจสอบกรณีมีการอุทธรณ์หรือให้เพิกถอนคำสั่งจดทะเบียนไม่ได้รับจดทะเบียนของนายทะเบียน ตรวจสอบเพื่อถอนทะเบียนร้าง ตรวจสอบที่ตั้งนิติบุคคล ตรวจสอบรายงานประจำปีบริษัท มหาชนจำกัด

  9. โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน การตรวจสอบด้านบัญชี 2 การตรวจสอบบัญชีและวิเคราะห์งบการเงิน การตรวจสอบการงานตามข้อร้องเรียนของผู้ถือหุ้นรายย่อยตามกฎหมาย การตรวจสอบการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3 ตรวจสอบนิติบุคคลที่มีสถานะเป็นต่างด้าวแต่ยังไม่ได้รับใบอนุญาต ตรวจสอบนิติบุคคลต่างด้าวที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรอง ตรวจสอบการถือหุ้นแทนคนต่างด้าว (นอมินี) ตรวจสอบธุรกิจที่ดิน ธุรกิจที่นา ตามนโยบายของกรม

  10. โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน การตรวจสอบข้อร้องเรียนและนโยบายกรมฯ 4 ข้อร้องเรียนจากรมสรรพากร เรื่องสถานที่ตั้งของนิติบุคคลตั้งใหม่ ข้อร้องเรียนจากบุคคลทั่วไป ตามกฎหมายที่กรมฯ รับผิดชอบ ตรวจสอบตามนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

  11. โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านส่งเสริมธรรมาภิบาลธุรกิจ • - เสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารงานของธุรกิจสำนักงานบัญชีและมาตรฐานการบัญชี • - เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการ • -ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการประกอบธุรกิจ 1. ด้านการอบรม - ธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีก ธุรกิจบริการ ธุรกิจชุมชนและระบบธุรกิจ - สถาบันการค้า สมาคมการค้าและหอการค้า - พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ 3. ด้านการให้บริการข้อมูล และเอกสาร - บริการข้อมูลธุรกิจแก่ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและองค์กรอิสระ 4. การออกแนวทางหรือวิธี ปฏิบัติที่ดี - เครื่องหมายรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชี - เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ เพื่อกับกำดูแลสถาบันอบรมทางบัญชี - สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงทางธุรกิจ และพัทธมิตรร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน - เชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรอิสระ 5. สร้างเครือข่ายธุรกิจ

  12. 5 ภาพรวมการกำกับดูแล และตรวจสอบธุรกิจ

  13. 6 เสนอ แนวทางเพื่อยกระดับการกำกับดูแล และสร้างธรรมาถิบาลธุรกิจที่ดีของบริษัทจดทะเบียน การสร้างธรรมาภิบาลธุรกิจให้ได้ผลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องช่วยกันผลักดันอย่างเต็มที่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยแรงผลักดัน 3 ด้านที่มีบทบาทในการสนับสนุนให้เกิดธรรมาภิบาลธุรกิจ ที่ดี คือ การผลักดันจากภาครัฐ โดยการออกข้อบังคับทางการ 1 การกระตุ้นให้เกิดแรงผลักดันจากสังคม และ 2 ความตั้งใจจากภาคธุรกิจ 3

  14. 7 พันธะสัญญา (Commitment) พันธะสัญญา (Commitment) ของสำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ ปี 2554 จัดอบรมนิติบุคคลให้มีธรรมาภิบาลการค้า 1 กำหนดหลักเกณฑ์พิจารณาธุรกิจที่มีธรรมาภิบาลดีเด่น 2 จำนวนนิติบุคคลที่ได้รับการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย 3

  15. 7 พันธะสัญญา (Commitment) ประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ประชาชน และประเทศชาติ • เป็นการสร้างธรรมาภิบาลธุรกิจที่ดี รวมทั้งสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ภาคธุรกิจ • ภาคธุรกิจมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ตามกฎหมาย และให้ความสำคัญในการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย • สร้างความเชื่อมั่นให้กับภาคธุรกิจของประเทศไทย ในเรื่องฐานข้อมูลการ จดทะเบียนธุรกิจ • เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านฐานข้อมูลการจัดตั้งธุรกิจ ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญประกอบการตัดสินใจเข้าร่วมลงทุนในธุรกิจสำหรับนักลงทุน และประชาชนทั่วไป ซึ่งจะส่งผลดีต่อการลงทุนของประเทศโดยรวม

  16. 7 พันธะสัญญา (Commitment) ประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ประชาชน และประเทศชาติ • รักษาผลประโยชน์ และรายได้ที่สำคัญของประเทศจากผู้ประกอบธุรกิจต่างด้าวให้เป็นไปตามกฎหมาย • ปัญหาข้อร้องเรียนได้รับการตรวจสอบ และดำเนินการแก้ไข เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายได้รับความเป็นธรรม

  17. จบการบรรยาย

More Related